Page 29 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                             13


                              2) ข้อมูลทรัพยากรดินปัญหา

                              การจัดท าข้อมูลและแผนที่ดินปัญหาหรือสภาพปัญหาดินทางการเกษตร มาตราส่วน
                   1:25,000 ในพื้นที่ลุ่มน้้ำห้วยศำลจอด จังหวัดสกลนคร ตามขั้นตอน ดังนี้

                              (1) การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลดินเพื่อการจ าแนกตามลักษณะและสมบัติดินประจ าชุดดิน

                   จ าแนกประเภทและความรุนแรงของดินปัญหาต่อการผลิตพืช ตามปัญหาที่เกิดจากสภาพธรรมชาติและ
                   จากการใช้ที่ดิน รวมถึงดินที่มีปัญหาเล็กน้อยที่เป็นข้อจ ากัดทางการเกษตร

                              (2) การจัดท าแผนที่ดินปัญหาและประเมินความรุนแรงของดินปัญหาในพื้นที่ด าเนินการเพื่อ
                   น าไปใช้ในแก้ไข ฟื้นฟู และป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน รวมถึงก าหนดมาตรการด้านการอนุรักษ์ดิน

                   และน้ าเพื่อการใช้ที่ดินทางการเกษตรได้อย่างยั่งยืน




                             การประเมินสถานภาพทรัพยากรน้ าส าหรับน าไปใช้ในการประเมินการชะล้างพังทลายของดิน

                   จัดท าแผนการใช้ที่ดิน ก าหนดมาตรการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและอนุรักษ์ดินและน้ า การ

                   ประเมินปริมาณน้ าผิวดินที่ไหลจากพื้นผิวดินสู่ร่องน้ า ล าห้วย คลองและแม่น้ า โดยอาศัยการค านวณจาก
                   ปริมาณน้ าฝนที่ตกลงมาบนพื้นที่หนึ่งๆ แล้วถูกดูดซับลงไปเก็บกักไว้ในดิน และระเหยไปในอากาศ น้ าที่

                   เหลือจากกระบวนการต่างๆ เหล่านี้ จะไหลลงสู่ร่องน้ า ล าห้วย คลองและแม่น้ าต่อไป อัตราการไหลและ

                   ปริมาณน้ าขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น ความรุนแรง ปริมาณน้ า ทิศทางลม ลักษณะความลาดเทของ
                   พื้นที่ประสิทธิภาพการเก็บกักน้ าบนผิวดิน การใช้ที่ดิน สมบัติของดิน และขนาดของพื้นที่รับน้ า ทั้งนี้

                   เพื่อให้ได้ฐานข้อมูลที่สอดคล้องกับหลักการส าคัญของการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เป็นการรักษาความชุ่มชื้นใน
                   ดิน การเก็บกักน้ าไหลบ่าบนผิวดินไว้ใช้ในพื้นที่ เพื่อประโยชน์สูงสุดตามศักยภาพของพื้นที่บริเวณนั้น ๆ ใน

                   ขณะเดียวกันจะต้องระบายน้ าส่วนเกินทิ้งไปในพื้นที่ที่ควบคุมได้ เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายกับพื้นที่

                   โดยเฉพาะการกัดเซาะพังทลายของดิน จึงก าหนดการประเมินศักยภาพภาพปริมาณน้ าท่า ดังนี้
                             1) การค านวณปริมาณน้ าท่า ด้วยวิธี Reginal Runoff equation (Lanning-Rush,2000) โดย

                   อาศัยความสัมพันธ์แบบรีเกรซชั่น (regression) ระหว่างปริมาณน้ านองสูงสุดเฉลี่ยและพื้นที่รับน้ าฝนจาก
                   ข้อมูลสถานีวัดน้ าในลุ่มน้ าต่าง ๆ ในลุ่มน้ าขนาดใหญ่ เพื่อหาปริมาณน้ าท่าเฉลี่ยที่จุดต่าง ๆ ในลุ่มน้ า ดัง

                   สมการ

                                                            =     
                                                                    
                                                             
                              เมื่อ          คือปริมาณน้ านองสูงสุดรายปีเฉลี่ย (ลูกบาศ์กเมตร/วินาที)
                                      
                                            คือพื้นที่รับน้ าฝน(ตารางกิโลเมตร)
                                     ,       คือค่าคงที่ค านวณจากกราฟ


                              2) การค านวณปริมาณน้ าท่าโมเดล ในพื้นที่ที่มีจ านวนและความซับซ้อนของข้อมูลมาก
                   สามารถใช้ซอฟแวร์แบบจ าลอง SWAT (SWAT model software) ในการจ าลองสถานการณ์ได้SWAT

                   model เป็นการจ าลองกระบวนการทางอุทกวิทยา โดยใช้สมการสมดุลน้ าดังสมการ
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34