Page 27 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        17


                            2) กำรชะล้ำงพังทลำยของดินแบบร่อง  ลักษณะนี้จะเกิดการชะล้างพังทลายของดินเมื่อมีน้ า
                   ในปริมาณมากๆ มารวมตัวกันแล้วไหลลงสู่ที่ต่ า ท าให้เกิดเป็นร่องน้ าขึ้น (channel erosion) โดยไม่ต้องอาศัย
                   แรงกระทบจากเม็ดฝน แบ่งออกเป็นลักษณะต่างๆ ดังนี้
                                - การชะล้างพังทลายของดินแบบริ้ว (rill

                   erosion) เป็นการชะล้างพังทลายของดินที่ก่อให้เกิดร่องริ้ว
                   เล็กๆ มากมายกระจายทั่วพื้นที่ความลึกไม่เกิน 8 เซนติเมตร
                   ท าให้ผิวขรุขระ แต่เมื่อมีการไถพรวนร่องริ้วบริเวณนี้
                   จะหายไป  มักเกิดในพื้นที่ที่มีความลาดเทน้อยความลาดเท
                   ไม่สม่ าเสมอกันตลอดและตามร่องที่ปลูกพืชตามแนวลาดเท        การชะล้างแบบริ้ว  (rill erosion)
                   การชะล้างดินแบบนี้ อาจไถกลบได้โดยใช้เครื่องมือไถพรวน  การชะล้างแบบริ้ว  (rill erosion)
                   ธรรมดา

                              - การชะล้างพังทลายของดินแบบร่องลึก (gully
                   erosion) เป็นการชะล้างดินกว้างกว่าแบบริ้ว เกิดในพื้นที่ที่มี
                   ความลาดเทมากและมีระยะความยาวของความลาดเทมาก
                   หรือพื้นที่ที่ปลูกพืชซ้ าซากตามแนวขึ้นลงของความลาดเท
                   เริ่มแรกเกิดจากการกัดเซาะของร่องน้ าเป็นร่องขนาดเล็ก
                   เมื่อไม่มีการแก้ไขก็จะกลายเป็นร่องน้ าขนาดใหญ่และลึก
                   ในพื้นที่ที่เป็นดินทรายจะเกิดการชะล้างพังทลายในลักษณะ
                                                                           การชะล้างแบบร่องลึก (gully erosion)
                   นี้ได้เร็วมากเมื่อเกิดฝนตกหนัก                    การชะล้างแบบร่องลึก (gully erosion)

                               - การชะล้างพังทลายของดินฝั่งล าน้ าหรือริมฝั่งแม่น้ า (stream erosion) เป็นการชะล้างดินที่
                   เกิดขึ้นตามล าน้ าธรรมชาติ เช่น แม่น้ า  ล าธาร ซึ่งมีน้ าตลอดปี ท าให้ดินริมฝั่งแม่น้ าพังทลายเนื่องจากก าลังแรง
                   ของกระแสน้ า และการถูกพัดพาไป แต่ละปีจะเกิดการพังทลายของดินในลักษณะนี้เป็นปริมาณมาก  ดินที่ถูกพัด
                   พาไปจะท าให้ล าน้ าและล าธารตื้นเขิน  ล าน้ าเกิดการเปลี่ยนทิศทางการไหล ท าให้เกิดน้ าไหลบ่าท่วมชายฝั่ง






















                                                        การชะล้างพังทลายดินฝั่งล าน้ าหรือริมฝั่งแม่น้ า (stream erosion)
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32