Page 17 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         7









                          ยุทธศำสตร์ที่ 5 การอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้ าที่เสื่อมโทรมและป้องกันการพังทลายของดิน พื้นที่ป่า
                   ต้นน้ า เป็นพื้นที่ที่มีความส าคัญต่อการเก็บรักษาความชุ่มชื้น การดูดซับน้ า การชะลอการไหลของน้ า อีกทั้งยังเป็น
                   แหล่งระบบนิเวศที่ส าคัญของพื้นที่ต้นน้ า ยุทธศาสตร์นี้จึงมีเป้าประสงค์คือ เพื่อปรับสมดุลระบบนิเวศ
                          เป้ำประสงค์ : ฟื้นฟูพื้นที่ป่าต้นน้ าที่เสื่อมโทรม เพื่อให้ได้พื้นที่ป่าไม้อย่างน้อยร้อยละ 40 ของพื้นที่

                   ประเทศ และป้องกันการสูญเสียหน้าดิน ในพื้นที่เกษตรลาดชัน เพื่อการชะลอน้ าในลุ่มน้ า
                          กลยุทธ์
                                 1. การอนุรักษ์ฟื้นฟูพื้นที่ป่าต้นน้ าที่เสื่อมโทรม ด้วยการปลูกป่าในพื้นที่ต้นน้ าที่เสื่อมโทรม
                                    การก่อสร้างฝายชะลอน้ าประเภทต่าง ๆ ในพื้นที่ต้นน้ า และการก าหนดมาตรการแนวทาง
                                    การใช้ประโยชน์และพัฒนาที่ดินในพื้นที่อนุรักษ์
                                 2. การป้องกันและลดการชะล้างพังทลายของดินด้วยการปลูกพืชคลุมดิน และการปลูกไม้ยืนต้น
                                    พร้อมจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า

                          โครงกำรสนับสนุนกำรพัฒนำ : การจัดท าแผนบริหารจัดการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่
                   เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า




                          ยุทธศำสตร์ที่ 3 บริหำรจัดกำรทรัพยำกรดินอย่ำงสมดุลและยั่งยืนด้วยกำรฟื้นฟูปรับปรุงดินและ
                   อนุรักษ์ดินและน  ำ
                          วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์ดินและน้ าที่ถูกต้องและเกษตรกรสามารถน าไป
                   ปฏิบัติให้เกิดการลงทุนต่ า  จัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า และพัฒนาแหล่งน้ าให้มีความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่
                   และถูกต้องตามหลักวิชาการ  ตลอดจนส่งเสริมมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าให้มีการน าไปใช้ประโยชน์อย่าง
                   แพร่หลาย เพื่อให้เกษตรกรมีพื้นที่ท าการเกษตรที่มีความอุดมสมบูรณ์  สามารถใช้ประโยชน์จากการพัฒนา

                   แหล่งน้ าได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
                          แนวทำงกำรพัฒนำ : การพัฒนาคู่มือด้านการอนุรักษ์ดินและน้ าให้เป็นไปตามมาตรฐานตาม
                   หลักวิชาการส่งเสริมและขยายผลมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า    จัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าให้เหมาะสม
                   กับสภาพพื้นที่และถูกต้องตามหลักวิชาการ และการพัฒนาแหล่งน้ าตามความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่
                          โครงกำรสนับสนุนแนวทำงกำรพัฒนำ : การพัฒนาความรู้ในการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ าแบบ
                   มีส่วนร่วม   พัฒนาองค์ความรู้ด้านอนุรักษ์ดินและน้ าที่ถูกต้องและง่ายต่อการปฏิบัติ  พัฒนาระบบตัดสินใจ
                   ในการวางแผนจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า  จัดท าแผนแม่บทการอนุรักษ์ดินและน้ าในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า

                   สาธิตการอนุรักษ์ดินและน้ าทั้งมาตรการวิธีกลและวิธีพืช  เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในการฟื้นฟูและป้องกันการ
                   ชะล้างพังทลายของดิน และการบริหารจัดการทรัพยากรน้ าและพัฒนาแหล่งน้ าเพื่อการเกษตร
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22