Page 13 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         3





                      “                                                                คือ




                                   1) การใช้ข้อมูลและเครื่องมือในการประเมินและควบคุมสถานการณ์การชะล้างพังทลายของดิน
                                   2) นโยบายและแผนสู่การปฏิบัติจริงในพื้นที่เสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของดิน
                                   3) ผลกระทบของการชะล้างพังทลายของดินในเชิงเศรษฐศาสตร์เพื่อน าไปสู่การติดตาม ป้องกัน
                   บรรเทา และควบคุมการจัดการพื้นที่ที่มีความคุ้มค่า มีประสิทธิภาพ และยั่งยืน

                                                                          เป็นตัวเลขเพื่อเป็นตัวชี้วัดก าหนดค่าการ

                   สูญเสียดินในระดับต่างๆ และใช้เป็นข้อมูลในการก าหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่
                   และพืชที่ปลูก เพื่อลดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน ลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ อันจะน าไปสู่
                   การใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างยั่งยืน  แต่อย่างไรก็ดี แม้ว่าดินจะเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถทดแทนได้หรือ
                   รักษาไว้ได้ แต่ต้องใช้เวลาในการสร้างนานถึง 100-1,000 ปี กว่าจะได้ชั้นดินหนา 2-3 เซนติเมตร (กรมพัฒนาที่ดิน,
                   2558) ฉะนั้นเราทุกคนจึงควรช่วยกันดูแลรักษาทรัพยากรดินให้ใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืน   “



































                                                          สภาพพื้นที่ที่มีการเผาเพื่อท าการเกษตร อ าเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18