Page 23 - การไถกลบตอซังเพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าว ตำบลคลองควาย อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        13

                   ผลการใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมีทางการเกษตร และสามารถน ามาเป็นเป้าหมายของการปรับเปลี่ยน
                   ระบบการผลิตที่เป็นเกษตรลดใช้สารเคมีทางการเกษตรได้ รวมถึงติดตามผลการด าเนินงาน จัดเก็บข้อมูล
                   วิเคราะห์ สรุปผลการเปลี่ยนแปลงและรายงานผลให้กรมพัฒนาที่ดินทราบต่อไป และให้เกษตรกรมีการท า

                   อย่างต่อเนื่องด้วยตนเองต่อไป

                   3.3 การไถกลบตอซัง
                          การไถกลบตอซัง (crop residue incorporation) หมายถึง การไถกลบตอซังหรือพืชไร่ที่มีอยู่ใน

                   ไร่นาภายหลังจากการเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้วลงไปในดินระหว่างการเตรียมพื้นที่เพาะปลูก ขณะที่ดินมี
                   ความชื้น และปล่อยทิ้งไว้ช่วงระยะเวลาหนึ่ง เพื่อให้เกิดกระบวนการย่อยสลายในดิน ซึ่งจะกลายเป็นแหล่ง
                   ของอินทรียวัตถุและธาตุอาหารพืช แล้วจึงปลูกพืชหลักตามที่ต้องการต่อไป (กรมพัฒนาที่ดิน, 2548)

                          ในปัจจุบันได้มีการน าเทคโนโลยีทางชีวภาพของกรมพัฒนาที่ดินโดยการน าน้ าหมักชีวภาพ
                   ซุปเปอร์ พด.2 ที่ได้จากการหมักวัสดุเศษปลา หอยเชอรี่ ผักผลไม้ หรือเศษอาหารบ้านเรือน โดยกิจกรรม
                   ของจุลินทรีย์ มาใช้ประโยชน์ในการหมักตอซัง โดยน้ าหมักชีวภาพ ซุปเปอร์ พด.2 มีประโยชน์เป็นสารเสริม
                   การเติบโต ประกอบด้วยฮอร์โมนออกซิน จิบเบอร์เรลลิน ไซโตไคนิน และกรดอินทรีย์ รวมถึงวิตามินบี
                   หลายชนิด ช่วยในการกระตุ้นการเจริญและเพิ่มจ านวนของจุลินทรีย์ดิน ท าหน้าที่ย่อยสลายตอซังและฟาง

                   ข้าวได้ดียิ่งขึ้น ตอซังและฟางข้าวอ่อนนุ่มย่อยสลายได้ง่ายและไถกลบสะดวกขึ้น
                          การไถกลบตอซังสามารถท าได้ทั้งที่เป็นพื้นที่เขตชลประทาน และพื้นที่เขตเกษตรน้ าฝน โดยพื้นที่
                   เขตชลประทาน สามารถปลูกข้าวได้ต่อเนื่อง 2-3 ครั้งต่อปี ซึ่งหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว ให้ผสมน้ าหมัก

                   ชีวภาพ ซุปเปอร์ พด.2 จ านวน 5 ลิตรต่อไร่ กับน้ า 100 ลิตร แล้วเทสารละลายน้ าหมักชีวภาพ ซุปเปอร์
                   พด.2 ไหลไปตามน้ าขณะที่เปิดน้ าเข้านา จนทั่วแปลงนาหรือใช้รถบรรทุกสารละลายน้ าหมักชีวภาพ
                   ซุปเปอร์ พด.2 สาดให้ทั่วแปลงนาขณะเดียวกันใช้รถตีฟางย่ าให้จมลงดิน ปล่อยให้ย่อยสลายประมาณ
                   10-15 วัน หลังจากนั้นจึงท าเทือก เพื่อเตรียมหว่านหรือปักด าข้าวครั้งใหม่ต่อไป หรือ สามารถปลูกพืชไร่

                   เศรษฐกิจชนิดอื่นได้ เช่น พืชตระกูลถั่วและข้าวโพด เป็นต้น ส่วนพื้นที่เขตเกษตรน้ าฝน ในกรณีที่ปลูกข้าว
                   เพียงอย่างเดียวตลอดฤดูเพาะปลูก โดยอาศัยน้ าฝน หลังจากการเก็บเกี่ยวข้าว ให้ทิ้งฟางข้าวหรือตอชังไว้ใน
                   พื้นที่ เพื่อเป็นการคลุมหน้าดิน เมื่อเข้าสู่ต้นฤดูฝน ช่วงปลายเดือนเมษายนหรือต้นเดือนพฤษภาคม ให้ผสม

                   น้ าหมักชีวภาพซุปเปอร์ พด.2 จ านวน 5 ลิตรต่อไร่ กับน้ า 100 ลิตร โดยใส่สารละลายน้ าหมักชีวภาพ
                   ซุปเปอร์ พด.2 ลงในถังที่ติดกับรถปั่นฟางแล้วหยอดไปพร้อมกับการปั่นฟาง หรือสาดให้ทั่วสม่ าเสมอ แล้ว
                   ใช้รถไถย่ าฟางให้จมดิน หมักฟางทิ้งไว้ประมาณ 10-15 วัน หลังจากนั้นจึงท าเทือกเตรียมแปลง พร้อมที่จะ
                   ปลูกข้าวต่อไป
                          ประโยชน์จากการไถกลบตอซังนั้นจะช่วยในการปรับปรุงโครงสร้างของดินให้มีความเหมาะสม

                   ท าให้ดินโปร่งร่วนซุยง่ายต่อการเตรียมดินการปักด ากล้า และท าให้ระบบรากพืชสามารถแพร่กระจายใน
                   ดินได้มากขึ้น ดินมีการระบายอากาศเพิ่มมากขึ้น ท าให้ปริมาณออกซิเจนเพียงพอต่อการหายใจของระบบ
                   รากพืชในดิน เพิ่มการซึมผ่านของน้ าได้อย่างเหมาะสม และการอุ้มน้ าของดินดีขึ้น

                          อินทรียวัตถุมีความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวกค่อนข้างสูง จึงท าให้ธาตุอาหารในดินทั้ง
                   ในรูปของการใส่ปุ๋ยเคมี และที่มีอยู่ในดินเดิม ซึ่งอยู่ในรูปของประจุบวกบางชนิด ถูกดูดซับไว้มิให้เกิดการ
                   สูญเสียไปจากดินและเป็นพิษต่อพืช และพืชสามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้ มีรายงานว่าการไถกลบตอซัง
                   ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน จะช่วยลดความเป็นพิษเนื่องจากเหล็กและแมงกานีสในดิน จากรายงานการ
                   ใส่วัสดุฟางข้าวและพืชปุ๋ยสด โสนอัฟริกันและปอเทืองอัตราละ 1 กิโลกรัมต่อไร่ ในดินชุดวารินเป็นเวลา
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28