Page 22 - การไถกลบตอซังเพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าว ตำบลคลองควาย อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        12

                                                           บทที่ 3

                                                      การตรวจเอกสาร

                   3.1 การเปลี่ยนแปลงอินทรียวัตถุในดินนา

                          ดินนาส่วนใหญ่มีการสะสมอินทรียวัตถุในดินสูง เนื่องจากการใส่ปุ๋ยอินทรีย์หรือการใส่หรือทิ้งเศษ

                   เหลือฟางไว้ในแปลงนา และการขังน้ าในการท านาท าให้เกิดการสะสมของอินทรียวัตถุในดินนา เนื่องจาก
                   อัตราการย่อยสลายของอินทรียวัตถุในดินนาจะต่ ากว่าดินไร่ จึงท าให้เกิดการสะสมอินทรียวัตถุในดินนา
                   เป็นปริมาณสูง การปลูกข้าวอย่างต่อเนื่อง ท าให้มีปริมาณอินทรียวัตถุในชั้นไถพรวนเพิ่มขึ้น นอกจากนี้
                   การแลกเปลี่ยนและการดูดซับของอินทรียวัตถุที่ละลายได้บนผิวแร่ดินเหนียว จะท าให้ความเสถียรของ
                                                                                     2+
                   อินทรียวัตถุในดินนา เช่น อินทรียวัตถุที่ละลายได้ในดินอาจจะตกตะกอนกับ Fe  ภายใต้สภาพน้ าขัง ท า
                   ให้เกิดความเสถียรของอินทรียวัตถุในดิน จึงท าให้การย่อยสลายของอินทรียวัตถุช้าลง
                          การใส่ฟางข้าวในแปลงนาท าให้มีปริมาณอินทรียวัตถุและไนโตรเจนเพิ่มขึ้น และการใส่
                   อินทรียวัตถุมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพีเอชดิน ค่ารีดอกซ์โพเทนเซียลและท าให้มีการปลดปล่อยธาตุอาหาร

                   ในดินนาเพิ่มมากขึ้น การใส่ฟางข้าวจะท าให้มีการสะสมอินทรียวัตถุในดินเพิ่มขึ้นและรักษาระดับความ
                   อุดมสมบูรณ์ของดินให้คงที่ (ยงยุทธ, 2558)

                   3.2 โครงการอบรมไถกลบตอซัง เพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน

                          กรมพัฒนาที่ดิน ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้เล็งเห็นความส าคัญของการช่วยเกษตรกร

                   ลดต้นทุนการผลิต และการขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ จึงได้จัดกิจกรรมโครงการอบรมไถกลบตอซัง พื้นที่
                   เป้าหมายด าเนินการทั้งประเทศ 7,500 ไร่ 375 แปลงเพื่อช่วยในการฟื้นฟูสภาพดินให้สามารถท า
                   การเกษตรได้อย่างยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์ของโครงการ คือ 1) เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้
                   เกษตรกรได้รู้ถึงประโยชน์จากการไถกลบตอซัง 2) เป็นการสาธิตวิธีการไถกลบตอซังที่ถูกต้องและ

                   เหมาะสมให้แก่เกษตรกร 3) เพื่อเกษตรกรสามารถน าไปปรับใช้ในพื้นที่ของตนเองได้ และ 4) ลดการเกิด
                   ภาวะโลกร้อนที่เกิดจากการเผาตอซัง ซึ่งท าให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น
                          การด าเนินงานของโครงการ กระท าโดยคัดเลือกพื้นที่เป้าหมายเพื่อก าหนดเป็นจุดสาธิตการ

                   เรียนรู้การไถกลบตอซัง เช่น พื้นที่ปลูกข้าว อ้อย ข้าวโพด ทั้งนี้พื้นที่นั้นต้องไม่ซ้ าซ้อนกับแปลงไถกลบตอซัง
                   ของกิจกรรมส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมีทางการเกษตรเกษตรอินทรีย์ แต่อาจเป็นพื้นที่
                   ติดต่อกันได้แปลงละอย่างน้อย 20 ไร่ และจัดงานรณรงค์ โดยน าเกษตรกรเข้าร่วมอย่างน้อย 100 คนต่อ
                   แปลง เมื่อได้แปลงที่จะจัดงานรณรงค์แล้วให้ก าหนดวันรณรงค์เพื่อการไถกลบตอซังโดยมีการเชิญผู้ที่
                   เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน เช่น ผู้น าท้องถิ่นเกษตรกร สื่อมวลชน ข้าราชการในพื้นที่ และเกษตรกรในพื้นที่ เข้า

                   ร่วมโครงการภายในงานประกอบด้วยการจัดประชุมชี้แจงให้ความรู้เกษตรกรถึงวัตถุประสงค์การ
                   ด าเนินงานการไถกลบตอซังเพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อนประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงประโยชน์ในการไถกลบ
                   ตอซัง ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมต่างๆ และเพื่อเป็นต้นแบบให้เกษตรกรหรือผู้ที่เกี่ยวข้องน ารูปแบบไปใช้

                   ขยายผลให้เกิดแพร่หลายมากขึ้น
                          นอกจากนี้เพื่อให้มีความต่อเนื่องในการด าเนินงาน จึงได้สนับสนุนสารเร่ง พด.2 ให้กับเกษตรกรที่
                   เข้าร่วมงานรณรงค์ในพื้นที่ โดยเกษตรกร 1 ราย น าสารเร่ง พด.2 ไปด าเนินกิจกรรมไถกลบตอซัง เนื้อที่
                   20 ไร่ และหลังจากที่จัดกิจกรรมรณรงค์ไถกลบตอซังแล้ว ให้ติดตามความต่อเนื่องโดยการส่งเสริมขยาย
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27