Page 67 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 67

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        53


                   ตารางที่ 16  คุณค่าทางโภชนะของเนื้อหอยเชอรี่และปลาป่น

                                                                                   2/
                                                           1/
                   แร่ธาตุ                      เนื้อหอยเชอรี่              ปลาป่น
                   แคลเซียม (เปอร์เซ็นต์)           6.00                       5.11


                   ฟอสฟอรัสรวม (เปอร์เซ็นต์)        0.53                       2.88


                   โซเดียม (เปอร์เซ็นต์)            0.18                       0.65


                   แมกนีเซียม (เปอร์เซ็นต์)         0.19                       0.16


                   โพแทสเซียม (เปอร์เซ็นต์)         0.33                       0.65


                   เหล็ก (พีพีเอ็ม)             978.70                      440.00


                   สังกะสี (พีพีเอ็ม)             60.10                     147.00


                   ทองแดง (พีพีเอ็ม)              27.00                       11.00


                   แมงกานีส (พีพีเอ็ม)          960.00                        33.00

                          1/
                   ที่มา :  ธีรวัฒน์ (2545)
                         2/
                             NRC (1994)


                   3.10 คุณสมบัติของขี้เถ้าในการใช้ประโยชน์ทางการเกษตร
                          จากการศึกษาคุณสมบัติและธาตุอาหารในขี้เถ้าที่ได้จากการเผาไหม้วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร

                   ต่างๆ เพื่อน าไปใช้ประโยชน์นั้น  พบว่าในขี้เถ้าทลายปาล์มมีทั้งโพแทสเซียมและซิลิกาในปริมาณสูง
                   สามารถน าไปใช้เป็นปุ๋ยธรรมชาติหรือใช้แทนส่วนประกอบในซีเมนต์ได้ (Yin และคณะ,2008)  ส่วนขี้เถ้า

                   จากแกลบ ชานอ้อย เปลือกถั่วลิสง  เปลือกเม็ดมะม่วงหิมพานต์  เปลือกหมากจะมีซิลิกาเป็นองค์ประกอบ
                   หลัก โดยพบแคลเซียม  แมกนีเซียม โพแทสเซียม ในขี้เถ้าจากเปลือกเม็ดมะม่วงหิมะพานต์และเปลือกถั่ว

                   ลิสง  พบคาร์บอนที่ไม่เผาไหม้  ฟอสฟอรัส (ในรูปของ P O ) และสารระเหยอื่นๆในขี้เถ้าจากชานอ้อย
                                                                   2 5
                   เปลือกเม็ดมะม่วงหิมะพานต์ (Umamaheswaran,  K.  และ V.  S.  Bata,  2008)    และพบลิกนิน
                   โพแทสเซียม  สังกะสี เป็นปริมาณสูงในขี้เถ้ากาบมะพร้าว เปลือกถั่วลิสง และแกลบเช่นกัน

                   (Raveendran  และคณะ, 1995)  นอกจากนี้ในรายงานของ Gorecka และคณะ(2006) และ Olanders
                   และ Steenari (1995) ก็พบว่า ขี้เถ้าไม้สามารถน ามาใช้แก้ไขความเป็นกรด   เป็นแหล่งธาตุอาหารต่างๆ
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72