Page 71 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 71

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        57


                   ลุ่มในบริเวณกว้างตั้งแต่ทางตอนกลางถึงตอนล่างของต าบล ดินมีคุณสมบัติเป็นดินเหนียวขังน้ าซึ่งส่งผล
                   กระทบต่อการเจริญเติบโตของยางพาราท าให้มีเจริญเติบโตได้ไม่ดี รองลงมาคือพื้นที่ที่ความเหมาะปาน
                   กลางในการปลูกยางพารา (S2) มีเนื้อที่ 10,905 ไร่ ซึ่งเป็นพื้นที่ทางตอนบนของต าบลเป็นพื้นที่ดอนมีการ

                   ระบายน้ าดี แต่จากตารางที่ 19 และภาพที่ 10, 11 และ 12 พบว่าพื้นที่ปลูกยางพาราของจังหวัดตราด
                   ส่วนมาก เป็นพื้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และอยู่ในกลุ่มชุดดินที่ 45C ชุดดินคลองซาก  เป็น
                   จ านวน 190,775  ไร่ หรือร้อยละ 17.91 ของพื้นที่เขตเหมาะสมในการปลูกยางพาราทั้งหมดในจังหวัด
                   ตราด  ดังนั้นจึงได้คัดเลือกแปลงยางพารา ต าแหน่งพิกัด UTM zone 48P , 0221781E 1352555N บ้าน

                   หินโคร่ง หมู่ที่ 6 ต าบลหนองโสน อ าเภอเมือง จังหวัดตราด มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ในการปลูก
                   ยางพารา และอยู่ในกลุ่มชุดดินที่ 45C  ชุดดินคลองซาก ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีการปลูกยางพารามากที่สุดใน
                   จังหวัดตราด จัดท าเป็นแปลงทดสอบเพื่อศึกษาหาแนวทางในการลดต้นทุนการผลิตยางพาราในพื้นที่มี

                   ความเหมาะสมปานกลาง (S2) ของจังหวัดตราดต่อไป
                   ตารางที่ 18 พื้นที่เขตความเหมาะสมในการปลูกยางพารา ต าบลหนองโสน อ าเภอเมือง จังหวัดตราด


                     สัญลักษณ์  ชั้นความเหมาะสม                                เนื้อที่ (ไร่)   ร้อยละ

                        S1       ชั้นความเหมาะสมสูง                               11             0.04

                        S2       ชั้นความเหมาะสมปานกลาง                         10,905          42.33


                        S3       ชั้นความเหมาะสมเล็กน้อย                        13,076          50.76


                         N       ไม่เหมาะสม                                      1,770           6.87


                                 เนื้อที่รวมทั้งหมด                             25,762         100.00

                   ที่มา : กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน (2561)

                   ตารางที่ 19 แสดงพื้นที่เขตความเหมาะสมในการปลูกยางพารา จังหวัดตราด


                     สัญลักษณ์  ชั้นความเหมาะสม                                เนื้อที่ (ไร่)   ร้อยละ


                        S1       ชั้นความเหมาะสมสูง                             25,127           2.36

                        S2       ชั้นความเหมาะสมปานกลาง                         659,796         61.95


                        S3       ชั้นความเหมาะสมเล็กน้อย                        273,018         25.63

                         N       ไม่เหมาะสม                                     107,124         10.06


                                 เนื้อที่รวมทั้งหมด                            1,065,065       100.00
                   ที่มา : กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน (2561)
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76