Page 49 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 49

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        35


                                  ต่ าปานกลาง                                6 - 10
                                  ปานกลาง                                    10 - 15
                                  ค่อนข้างสูง                                15 - 25

                          5.4) ชั้นมาตรฐานปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์
                              ชั้นมาตรฐาน                         ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (ppm)
                                  สูง                                         25 - 45
                                  สูงมาก                                      >45

                          5.5) ชั้นมาตรฐานปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์
                              ชั้นมาตรฐาน                         โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (ppm)
                                  ต่ ามาก                                    <30

                                  ต่ า                                       30 - 60
                                  ปานกลาง                                    60 - 90
                                  สูง                                        90 - 120
                                  สูงมาก                                     >120
                          5.6) ชั้นมาตรฐานของปฏิกิริยาดิน

                              ชั้นมาตรฐาน
                                  กรดรุนแรงมาก                               (very extremely acid) <4.0
                                  กรดรุนแรง                                  (extremely acid) 4.0 - 4.4

                                  กรดจัดมาก                                  (very strongly acid) 4.5 - 5.0
                                  กรดจัด                                     (strongly acid) 5.1 - 5.5
                                  กรดปานกลาง                                 (medium acid) 5.6 - 6.0
                                  กรดเล็กน้อย                                (slightly acid) 6.1 - 6.5

                                  กลาง                                       (neutral) 6.6 - 7.3
                                  ด่างเล็กน้อย                               (mildly alkaline) 7.4 - 7.8
                                  ด่างปานกลาง                                (moderately alkaline) 7.9 - 8.4
                                  ด่างจัด                                    (strongly alkaline) 8.5 - 9.0

                                  ด่างจัดมาก                                 (very strongly alkaline) >9.0
                          6) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n : Nutrient Retention Capacity) คุณลักษณะที่ดินที่เป็น
                   ตัวแทน ได้แก่ ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกและความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่าง โดยปัจจัยทั้ง
                   สองนี้มีผลทางอ้อมต่อการเจริญเติบโตของพืชในเรื่องของปริมาณธาตุอาหารที่ดินสามารถดูดยึด และการ

                   ปลดปล่อยธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อพืช
                              6.1) ชั้นมาตรฐานของความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (C.E.C.)
                                    ชั้นมาตรฐาน มิลลิกรัมต่อ100 กรัมดิน
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54