Page 50 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 50

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        36


                                  ต่ ามาก                                    <3
                                  ต่ า                                       3 - 5
                                  ต่ าปานกลาง                                5 - 10

                                  ปานกลาง                                    10 - 15
                                  ค่อนข้างสูง                                15 - 20
                                  สูง                                        20 - 30
                                  สูงมาก                                     >30

                             6.2) ชั้นมาตรฐานของความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่าง (B.S)
                                  ชั้นมาตรฐาน ความอิ่มตัวเบส (เปอร์เซ็นต์)
                                  ต่ า                                       <35

                                  ค่อนข้างต่ า                               35 - 50
                                  ปานกลาง                                    50 - 70
                                  สูง                                        >75
                          7) สภาวะการหยั่งลึกของราก (r : Rooting Conditions) คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทน ได้แก่
                   ความลึกของดิน ความลึกของระดับน้ าใต้ดินและชั้นการหยั่งลึกของราก (ตารางที่ 6)

                          ความลึกของดินจะมีส่วนสัมพันธ์กับความลึกของระบบรากพืชในการหยั่งเพื่อหาอาหารและยึดล า
                   ต้น  ดินที่มีความลึกมากโอกาสที่รากจะเจริญเติบโตก็เป็นไปได้ง่าย  นอกจากนี้ระดับน้ าใต้ดินจะเป็นตัว
                   ควบคุมการเจริญเติบโตของรากพืชด้วย ถ้าระดับน้ าใต้ดินตื้น โอกาสที่รากพืชจะเจริญเติบโตไปสู่เบื้องล่าง

                   ก็เป็นไปได้ยากเพราะดินข้างล่างจะขาดออกซิเจน
                          7.1) ชั้นมาตรฐานความลึกของดิน
                              ชั้นมาตรฐาน ความลึก (เซนติเมตร)

                                  ตื้นมาก                                     <25
                                  ตื้น                                       25 - 50

                                  ลึกปานกลาง                                 50 - 100
                                  ลึก                                        100 - 150
                                  ลึกมาก                                     >150

                          ความยากง่ายต่อการหยั่งลึกของรากในดิน มีปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ลักษณะเนื้อดิน โครงสร้าง
                   การเกาะตัวของดินและปริมาณกรวดหรือเศษหินที่พบในหน้าตัดดิน

                          8) ความเสียหายจากน้ าท่วม (f : Flood Hazard) คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทน
                          ได้แก่ จ านวนครั้งที่น้ าท่วมในรอบช่วงปีที่ก าหนดไว้ หมายถึง พืชได้รับความเสียหายจากการที่น้ า

                   ท่วมบนผิวดินชั่วระยะเวลาหนึ่ง หรือเป็นน้ าที่มีการไหลบ่า การที่น้ าท่วมขังจะท าให้ดินขาดออกซิเจน ส่วน
                   น้ าที่ไหลบ่าจะท าให้รากพืชได้รับความกระทบกระเทือน หรือรากอาจหลุดพ้นผิวดินขึ้นมาได้ ความ
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55