Page 51 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 51

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        37


                   เสียหายจากน้ าท่วมไม่ใช่จะเกิดกับพืชเท่านั้น แต่ยังท าความเสียหายให้กับดินและโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ
                   ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ที่ดิน

                          8.1) ชั้นมาตรฐานความเสียหายจากน้ าท่วม
                              ชั้นมาตรฐาน                                    ความถี่ในการเกิดน้ าท่วม

                                  ต่ า                                       10 ปีขึ้นไปเกิด 1 ครั้ง
                                  ค่อนข้างต่ า                               6 - 9 ปีเกิด 1 ครั้ง

                                  ปานกลาง                                    3 - 5 ปีเกิด 1 ครั้ง
                                  สูง                                        1 - 2 ปีเกิด 1 ครั้ง
                          9) การมีเกลือมากเกินไป (x : Excess of Salts) คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทนได้แก่ ปริมาณ

                   เกลืออิสระที่สะสมมากเกินพอจนเป็นอันตรายต่อการเจริญเติบโตของพืช  มีอัตราร้อยละของโซเดียมที่
                   แลกเปลี่ยนได้  <15  เปอร์เซ็นต์หรือ  salinity  จะมีอิทธิพลที่ท าความเสียหายให้กับพืช โดยขบวนการ

                   osmosis กล่าวคือ ถ้ามีเกลือสะสมในดินมาก ปริมาณน้ าในรากพืช และต้นพืชจะถูกดูดออกมาท าให้ต้น
                   พืชขาดน้ า ถ้าความเค็มมีระดับสูงมากอาจท าให้พืชตายได้ พืชแต่ละชนิดจะมีความสามารถในการทนทาน

                   ต่อปริมาณเกลือแตกต่างกันออกไป เช่น ฝ้ายมีความทนทานสูงมากถึง 10 - 16 มิลลิโมห์ต่อเซนติเมตร
                   องุ่น  ข้าว  ข้าวโพด  ถั่วต่าง  ๆ  มะเขือเทศ  มีความทนทานปานกลาง ประมาณ  4  -  10  มิลลิโมห์ต่อ

                   เซนติเมตร ส าหรับส้ม มะนาว อ้อย มีความทนทานต่ ามาก ประมาณ 2 - 4 มิลลิโมห์ต่อเซนติเมตร
                          10) สารพิษ (z : Soil Toxicities) คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทน ได้แก่ ระดับความลึกของชั้นจา
                   โรไซท์ ซึ่งจะมีอิทธิพลต่อปฏิกิริยาดิน ท าให้ดินเป็นกรดจัดมาก ปริมาณซัลเฟตของเหล็กและอลูมิเนียมใน

                   ดินจะสูงมากจนเป็นพิษต่อพืช
                          11) สภาวะการเขตกรรม (k : Soil Workability) คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทนได้แก่ ชั้นความ

                   ยากง่ายในการเขตกรรม  ซึ่งอาจหมายถึงการไถพรวนโดยใช้เครื่องจักรหรือสัตว์  หรือเครื่องมืออื่นๆ  ก็ได้
                   ชั้นระดับความยากง่ายในการไถพรวนใช้มาตรฐานเดียวกันกับการจัดล าดับความหยั่งลึกของราก  แต่ใช้

                   เฉพาะบนดินเท่านั้น
                          12) ศักยภาพการใช้เครื่องจักร (w : Potential for Mechanization)  คุณลักษณะที่ดินที่เป็น

                   ตัวแทน ได้แก่  ความลาดชันของพื้นที่  ปริมาณหินโผล่ ปริมาณก้อนหิน  และการมีเนื้อดินเหนียวจัด  ซึ่ง
                   ปัจจัยทั้ง 4 นี้ อาจเป็นอุปสรรคต่อการไถพรวนโดยเครื่องจักร (ตารางที่ 7)
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56