Page 47 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 47

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        33


                          3.3) ชั้นมาตรฐานความจุในการอุ้มน้ า
                                       ชั้นมาตรฐาน              เซนติเมตร/เซนติเมตรดิน
                                           ต่ ามาก                         <0.05

                                                ต่ า                         0.05 - 0.10
                                       ปานกลาง                         0.10 - 0.15
                                               สูง                          0.15 - 0.20
                                           สูงมาก                           >0.20

                          3.4) ปริมาณน้ าฝนที่ตกลงมาในแต่ละพื้นที่ จะมีส่วนหนึ่งซึมซาบลงไปในดินสู่เบื้องล่าง เมื่อดินอิ่ม
                   ด้วยน้ าแล้วส่วนที่เหลือจะไหล่บ่าออกไปจากพื้นที่  ปริมาณน้ าฝนที่เหลืออยู่ในดิน  ซึ่งพืชสามารถน าไปใช้
                   ประโยชน์ได้ เรียกว่า Effective rainfall จากรายงานของ Kud Reservoir Project ได้แสดงวิธีประเมิน

                   หาค่า Effective Rainfall จากปริมาณน้ าฝนที่ตกลงมาในแต่ละเดือนดังนี้
                          จ านวนน้ าฝนรายเดือน (มิลลิเมตร)         ปริมาณฝนใช้การ (เปอร์เซ็นต์)
                                               <10               0
                                         11 - 100                80
                                         101 - 200               70

                                         201 - 250               60
                                         251 - 300               55
                                         >300                    50

                          ค่าของ  Effective  Rainfall  ที่ค านวณหาได้ในช่วงฤดูปลูกพืช  จะมีค่าใกล้เคียงกับ  water
                   growing period
                          4) ค่าความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช (o : Oxygen Availability) คุณลักษณะที่ดิน
                   ที่เป็นตัวแทน  ได้แก่  สภาพการระบายน้ าของดิน  ทั้งนี้  เพราะพืชโดยทั่วไปรากพืชต้องการออกซิเจนใน

                   ขบวนการหายใจ  ดังนั้น  เมื่อพิจารณาถึงปัจจัยของดินที่มีสภาพการระบายน้ าดี จะมีการถ่ายเทอากาศ
                   ระหว่างเหนือผิวดินกับภายในดินได้ดี  ส่วนในดินที่มีสภาพการระบายน้ าเลว การถ่ายเทอากาศเป็นไปได้
                   น้อย ท าให้ปริมาณก๊าซออกซิเจนในดินที่ถูกรากพืชดูดไปมีปริมาณลดลง ในขณะที่ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
                   ในดินที่ได้จากกระบวนการหายใจเพิ่มขึ้น ซึ่งจะมีผลกระทบกระเทือนต่อการเจริญเติบโตของรากพืชและ

                   อาจตายได้ในสภาวะที่รากพืชขาดก๊าซออกซิเจนอย่างรุนแรง และเป็นเวลานานพอ
                          ส าหรับพืชไร่ และไม้ผลไม่สามารถเจริญเติบโตได้ในสภาพที่มีการแช่ขังของน้ าเป็นเวลานานตั้งแต่
                   5  -  14  วันขึ้นไป  ทั้งนี้  ขึ้นอยู่กับชนิดของพืช  ในสภาพน้ าแช่ขังปริมาณก๊าซออกซิเจนในดินมีน้อยมาก
                   หรือไม่มี รากพืชจะขาดออกซิเจนอย่างรุนแรงและถ้าเป็นเวลานานพอพืชที่ปลูกอาจจะตายได้

                          ส าหรับข้าวชอบสภาพที่มีการแช่ขังของน้ าเป็นระยะเวลายาวนาน  ต้องการดินที่มีการระบายน้ า
                   เลว ทั้งนี้ เพราะข้าวมีอวัยวะพิเศษที่สามารถดูดก๊าซออกซิเจนจากน้ าที่แช่ขัง จึงท าให้สามารถเจริญเติบโต
                   ได้ดี
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52