Page 45 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 45

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        31


                          w : ศักยภาพการใช้เครื่องจักร (Potential for mechanization) p : โรคและศัตรูพืช (Pests
                   and diseases)
                          m : ความชุ่มชื้นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช (Moisture availability)
                          n  :  ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร  (nutrient  retention  capacity)  a  :  การเข้าถึงพื้นที่
                   (Access within the production unit)

                          e : ความเสียหายจากการกัดกร่อน (Erosion hazard)
                          o : ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช (Oxygen availability to root) u : ความเข้ม
                   ของแสงอาทิตย์ (Radiation regime)
                          h : ความชื้นในอากาศที่มีผลการเจริญเติบโต (Air humidity as affecting growth) i : สภาวะ
                   การสุกแก่ (conditions for ripening)
                          k : สภาวะการเขตกรรม (Soil workability)
                          v : สภาวะส าหรับการเตรียมดิน (Conditions for land preparation)

                          q :  สภาวะส าหรับการกักเก็บและแปรรูป  (Conditions  for  storage  and  processing)  y  :
                   สภาวะที่มีผลต่อเวลาให้ผลผลิต (Conditions affecting timing of production)
                          l : ที่ตั้ง (Location)


                                           การประเมินความเหมาะสมทางกายภาพที่ด ิน


                           คุณภาพที่ดิน                          ระดับความต้องการของปัจจัยต่อการเจริญเติบโต
                         (Land Quality)                                     (Land Quality)

                                                                        1. ความเข้มของแสงอาทิตย์ 2. อุณหภูมิ
                                               การจับคู่ (Matching)     3. ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช
                                                                         4. ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร
                        ข้อมูลดิน                                       5. ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร
                     (Soil Property)                                    6. การหยั่งลึกของราก
                                                                        7. ความเสียหายจากการเกิดน้ าท่วม
                                        ความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดิน ใน  8. การมีเกลือมากเกินไป
                                            การปลูกพืชเศรษฐกิจ          9. สารพิษ 10. ความเสียหายจากการกัดกร่อน
                          เนื้อดิน
                        การระบายน้ า                                    11. สภาวะการเขตกรรม
                      ความอุดมสมบูรณ์                                   12. ศักยภาพการใช้เครื่องจักร
                        pH, CEC, BS           ตัวอย่าง                  13. ความชุ่มชื้นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช
                       ความลึกของดิน    ระดับความต้องการ
                       ความเค็มของดิน     ปริมาณน้ าฝน
                        ความลาดชัน      ต่อการเจริญเติบโต       ปัจจัยชี้บ่ง   S1   S2       S3      S4
                         ปริมาณหิน       ของอ้อยโรงงาน         ปริมาณน้ าฝน    1,200-2,000  1,000-1,200  800-1,000   <800
                                                                (มิลลิเมตร)
                                                                                  2,000-2,500  2,500-3,000  >3,000

                   ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน (2556)
                   ภาพที่ 8 การประมินความเหมาะสมทางกายที่ดิน
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50