Page 54 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 54

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        40


                   ตารางที่ 7 การจัดล าดับชั้นศักยภาพการใช้เครื่องจักร
                     คุณลักษณะ                                        ชั้นศักยภาพ
                       ของดิน       หน่วย         1           2           3            4           5

                     ความลาดชัน      %           <5          5-12        12-35       35-50        >50
                     พื้นที่หินโผล่   %           1           4           10          25          >25
                       หินก้อน       %            1           5           15          40          >40
                      (หินบน)
                     ดินเหนียวจัด    -           ไม่มี       ไม่มี      มี/ไม่มี     มี/ไม่มี    มี/ไม่มี

                   ที่มา : บัณฑิต และ ค ารณ (2542)
                          13) ความเสียหายจากการกร่อน (e : Erosion Hazard) คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทน ได้แก่

                   ความลาดชันของพื้นที่  และปริมาณดินที่สูญเสีย  พื้นที่ที่มีความลาดชันสูงโอกาสที่ดินจะถูกกัดกร่อนก็
                   เป็นไปได้ง่ายขึ้น  เมื่อผิวหน้าดินถูกกัดกร่อน  ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากอิทธิพลของน้ า  ดินจะถูกพัดพาไปโดย
                   ขบวนการไหลบ่าของน้ า  ท าให้ธาตุอาหารที่อยู่ในดินสูญเสียตามไปด้วย  รวมทั้งตะกอนที่เกิดขึ้นจะมี

                   ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมโดยทั่วไป

                   3.3 การก าหนดระดับความเหมาะสมของค่าพิสัย (Rating) ส าหรับความต้องการของประเภทการใช้

                   ประโยชน์ที่ดิน
                          บันฑิต และ ค ารณ (2542) กล่าวว่า ความต้องการของประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในที่นี้จะ
                   หมายถึง ความต้องการด้านคุณภาพที่ดินหรือคุณลักษณะที่ดินของพืชแต่ละชนิด พืชแต่ละชนิดมีความ

                   ต้องการคุณภาพที่ดินเพื่อการเจริญเติบโตแตกต่างกันไป เช่น อุณหภูมิที่เหมาะสมแก่การเจริญเติบโตของ
                   พืชชนิดหนึ่ง จะถูกก าหนดให้มีค่าพิสัยสูงและในทางตรงกันข้ามกันอุณหภูมิที่ท าให้พืชเจริญเติบโตช้าหรือ
                   หยุดชะงักการเจริญเติบโตก็จะถูกก าหนดให้มีค่าพิสัยต่ าสุด ได้ก าหนดระดับค่าพิสัยของคุณภาพที่ดินแต่ละ
                   ชนิดออกเป็น 4 ระดับ โดยอาศัยหลักเกณฑ์ในรูปของผลผลิตและการลงทุน ดังข้อก าหนดตามตารางที่ 8
                   ตารางที่ 8 แสดงค่าระดับพิสัยในรูปของการผลิตและการลงทุน

                   ระดับค่าพิสัย           %  Optimum  yield                     การจัดการเพื่อให้ได้ผลผลิต 80 %
                                          *                                           ของ Optimum yield
                   S1 : Highly suitable       มากกว่า 80                        ไม่มี
                   S2 : Moderately suitable     40-80       จ าเป็นต้องมี สามารถปฏิบัติได้ และมีความเป็นไปได้เชิง
                                                            เศรษฐกิจ
                   S3 : Marginally suitable     20-40       จ าเป็นต้องมี สามารถปฏิบัติได้  และเหมาะสมด้าน
                                                            เศรษฐกิจในบางกรณี
                   N : Not suitable           น้อยกว่า 20   ข้อจ ากัดนั้นๆ ยาก หรือไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยการจัดการ
                         * %  Optimum yield = expected yield X 100

                                                           Optimum yield

                   ที่มา : บัณฑิต และ ค ารณ (2542)
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59