Page 43 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 43

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        29


                                                           บทที่ 3


                                                      การตรวจเอกสาร

                   3.1 การก าหนดเขตเหมาะสมส าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ

                          ทรัพยากรดินเป็นปัจจัยหลักในการท าเกษตรกรรม ซึ่งมีอย่างจ ากัด การใช้ที่ดินที่ไม่เหมาะสมกับ
                   ศักยภาพจะก่อให้เกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน  ซึ่งต้องใช้ต้นทุนสูงในการท าเกษตรกรรม ดังนั้น

                   การใช้ที่ดินให้เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยลดปัญหาการเสื่อมโทรม
                   ทรัพยากรดินที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นซึ่งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม  เศรษฐกิจและสังคมของ

                   ประเทศ การก าหนดเขตเหมาะสมส าหรับพืชเศรษฐกิจเป็นรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินให้เหมาะสมกับ
                   ศักยภาพของทรัพยากรดินเพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างยั่งยืนและลดผลกระทบกับ

                   สิ่งแวดล้อมโดยหลักการก าหนดเขตการใช้ที่ดินเพื่อการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมมีเป้าหมายที่ส าคัญ
                   คือ การปรับสมดุลของอุปสงค์ และอุปทาน ของสินค้าเกษตรในแต่ละพื้นที่ โดยการอาศัยข้อมูลวิชาการ
                   ด้านกายภาพ และศักยภาพของพื้นที่ เป็นข้อมูลพื้นที่ฐานเบื้องต้นประกอบกับการรวบรวมข้อมูลด้าน พืช

                   ปศุสัตว์ และประมง ตลอดจนเกษตรผสมผสาน ทั้งนี้รวมทั้ง การวิเคราะห์ร่วมกับแนวโน้มความต้องการ
                   ของสินค้าเกษตรในตลาด เพื่อหาความเหมาะสมในการท าการเกษตรแต่ละชนิดประเภทในการพื้นที่นั้นๆ

                   ท าให้เกิดประสิทธิภาพการผลิตในเขตเหมาะสม  และการปรับเปลี่ยนในพื้นที่เหมาะสมน้อย  หรือไม่
                   เหมาะสม ซึ่งจะท าให้เกษตรกรมีผลประโยชน์ในรูปแบบก าไร หรือรายได้เพิ่มขึ้นกว่าการท าการเกษตรใน
                   พื้นที่ไม่เหมาะสมโดยภาครัฐให้ข้อมูลวิชาการแนะน าสนับสนุน และจูงใจให้แก่เกษตรกร โดยอยู่บนพื้นฐาน

                   เงื่อนไขเป็นไปตามความสมัครใจ และความพึงพอใจของเกษตรกรเองเป็นหลัก
                           ความส าคัญของเขตเหมาะสมส าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ การปลูกพืชเศรษฐกิจหลายชนิดของ

                   ประเทศไทย  ยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควรเนื่องจากเกษตรกรส่วนหนึ่งน าพื้นที่ที่มีความเหมาะสมน้อย
                   หรือไม่เหมาะสมมาใช้ปลูกพืช ส่งผลให้ประสิทธิภาพการผลิตโดยเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ต่ า ต้นทุนการผลิตสูง

                   และหลายชนิดมีปริมาณเกินความต้องการของตลาด  จึงต้องมีการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมอย่าง
                   เหมาะสมส าหรับพืชเศรษฐกิจ การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมเป็นแนวคิดที่ด าเนินการภายใต้นโยบาย

                   ของรัฐบาลในการจัดการและใช้ที่ดินของประเทศเพื่อเกิดประโยชน์สูงสุด  จึงต้องค านึงถึงศักยภาพหรือ
                   ความเหมาะสมของทรัพยากรที่ดินในการปลูกพืชเศรษฐกิจ เขตเหมาะสมส าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจเป็น
                   กลไกหนึ่งในการขับเคลื่อนให้การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมเกิดประโยชน์สูงสุด โดยน าเขตเหมาะสม

                   ส าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจไปด าเนินการ ดังนี้
                          1) เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ในเขตเหมาะสมสูง และปานกลาง

                          2) ปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตในเขตเหมาะสมน้อย และเขตไม่เหมาะสม
                          (กรมพัฒนาที่ดิน, 2559)
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48