Page 41 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 41

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        27


                   (ตารางที่ 10) ส่วนในจังหวัดตราดจากภาพที่ 11 และ 12 ก็พบว่ากลุ่มชุดดินที่มีพื้นที่มากที่สุดคือกลุ่มชุด
                   ดินที่ 45C ชุดดินคลองซากเช่นกัน มีเนื้อที่ 190,775 ไร่ หรือร้อยละ 10.75 ของจังหวัด พื้นที่ส่วนมากของ
                   จังหวัดตราดเป็นพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2)  ในการปลูกยางพารา  หรือร้อยละ 61.95 ของ

                   พื้นที่เหมาะสมทั้งหมด (ภาพที่ 10)  โดยกลุ่มชุดดินที่ 45C  ชุดดินคลองซากนั้นนอกจากจะมีเนื้อที่มาก
                   ที่สุดในจังหวัดตราดแล้ว ยังเป็นกลุ่มชุดดินที่มีเนื้อที่มากที่สุดในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมในการปลูก
                   ยางพาราปานกลาง (S2) ของจังหวัดตราดอีกด้วย คิดเป็นร้อยละ 28.91 (ภาพที่ 10, 11 และ 12)
                          ดังนั้นในการท าการทดสอบครั้งนี้ จึงคัดเลือกแปลงยางพาราที่ใช้เป็นตัวแทนของแปลงยางพาราที่

                   มีพื้นที่ปลูกมากที่สุดในต าบลหนองโสนและจังหวัดตราด คือแปลงยางพาราที่อยู่บนกลุ่มชุดดินที่ 45C ชุด
                   ดินคลองซาก เพื่อหาแนวทางในการลดต้นทุนการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2)
                   เพื่อให้ค าแนะน าแก่เกษตรกรรายอื่นๆในพื้นที่และจังหวัดตราดต่อไป


                   2.7 สภาพเศรษฐกิจและสังคม
                          จากการส ารวจพื้นที่ต าบลหนองโสน อ าเภอเมือง จังหวัดตราด พบว่าร้อยละ 87.50 ของพื้นที่

                   ส ารวจปลูกยางพาราและไม้ผลเป็นพืชหลัก รองลงมาร้อยละ 20.83 ปลูกข้าว ในเขตชลประทาน สภาพดิน
                   ที่เกษตรกรในพื้นที่ส ารวจปลูกพืช ร้อยละ 87.50 เป็นดินที่มีปัญหา มีสภาพเป็นดินลูกรัง ดินมีกรวดหิน

                   ปะปน ดินทราย ดินเปรี้ยว ส่วนร้อยละ 50 เป็นดินดี เช่น ดินร่วนปนทราย ดินร่วน และดินเหนียวปน
                   ทราย ซึ่งเกษตรกรมีวิธีในการแก้ไขปัญหาดินเสื่อมโทรม โดยการ ใส่สารปรับปรุงดิน เช่น ปูนมาร์ล โดโล

                   ไมท์ ใส่ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยชีวภาพ และใช้วัสดุคลุมดินร่วมกับการไถพรวน เรื่องน้ าที่ใช้ในการ
                   เพาะปลูกพบว่าร้อยละ 75 ใช้น้ าฝนและน้ าจากบ่อหรือสระน้ า รองลงมาร้อยละ 50 ใช้วิธีการสูบน้ าด้วย

                   ไฟฟูา ซึ่งในพื้นที่ส ารวจนั้นพบว่า ส่วนใหญ่ไม่ประสบปัญหาน้ าท่วมหรือน้ าขาดแคลน มีเพียงร้อยละ 25
                   ประสบปัญหาน้ าแล้ง และร้อยละ 12.50 ประสบปัญหาน้ าท่วมพื้นที่เพาะปลูก
                          ด้านความพึงพอใจในพืชที่ปลูก พบว่า ร้อยละ  83.33 ไม่ต้องการเปลี่ยนพันธุ์พืชที่ปลูก ต้องการ

                   ปลูกยางพาราตามเดิม เนื่องจากไม่ต้องใช้เงินทุนมาก มีตลาดรองรับ และพื้นที่ขาดแคลนแหล่งน้ าทาง
                   การเกษตร ส่วนร้อยละ 16.67 ต้องการเปลี่ยนไปปลูกไม้ผลโดยเฉพาะ ทุเรียน เนื่องจากราคาผลผลิตเป็น

                   ที่น่าพอใจ แต่มีปัญหาเรื่องต้นทุน แหล่งน้ า และความรู้ในการปลูกดูแลรักษา
                           ด้านความสนใจในการพัฒนาทางการเกษตร พบว่าเกษตรกรทราบเรื่องแนวทางการเพิ่มผลผลิต
                   อยู่แล้ว ได้แก่ การใส่ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยชีวภาพ เข้ารับการอบรมเพิ่มเติม ลงทุนสร้างแหล่งน้ าเพิ่ม

                   และเพิ่มพื้นที่เพาะปลูก ส่วนเรื่องของเกษตรอินทรีย์ เกษตรกรที่ส ารวจทั้งหมด ให้ความสนใจการเกษตร
                   อินทรีย์แบบใช้สารเคมีระดับปลอดภัย  และสนใจเรื่องการเกษตรแบบพอเพียง แต่ในพื้นที่ส ารวจพบว่า

                   ด้านสังคมยังไม่ค่อยมีการรวมกลุ่มกันทางด้านการเกษตรและเลี้ยงสัตว์เพื่อเพิ่มรายได้ เรื่องของการรับ
                   บริการจากกรมพัฒนาที่ดินนั้น ร้อยละ 87.50 เคยได้รับบริการในเรื่องของรับผลิตภัณฑ์ปรับปรุงดิน ปุ๋ย

                   หมัก น้ าหมักชีวภาพ เมล็ดพันธ์พืชปุ๋ยสด การตรวจวิเคราะห์ดินและค าแนะน าวิธีการปรับปรุงบ ารุงดิน
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46