Page 69 - การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
P. 69

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       59








                       ตารางที่ 20 การเปรียบเทียบความแตกต่างของรายได้ในระบบเกษตรอินทรีย์ PGS และระบบเกษตรเคมี

                                                    รายได้จากการขายผลผลิต        ร้อยละ

                                                             (เฉลี่ย)
                                         จ านวน                                   ของ
                        กลุ่มเกษตรกร               เกษตรเคมี     เกษตรอินทรีย์                t      Sig.
                                          ราย                                    รายได้ที่
                                                    (ก่อนเข้า    แบบมีส่วนร่วม   เพิ่มขึ้น
                                                      PGS)       (หลังเข้า PGS)

                       จังหวัดสุรินทร์     48      75,351.06      124,848.40      65.69
                       จังหวัดเชียงใหม่    41      81,292.68      120,487.80      48.21
                       จังหวัดล าปาง       34      106,823.53     120,750.00      13.04    -4.239  0.000*

                       จังหวัดนครปฐม       14      113,464.29     166,857.14      47.06
                       จังหวัดยโสธร        16      75,400.00      167,285.71     121.86
                             รวม          153      93,675.82      138,211.60     47.54


                               จากตารางที่ 20  ผลการศึกษา พบว่า ก่อนเข้าสู่ระบบ PGS  (ระบบเกษตรเคมี)  เกษตรกร

                       มีรายได้เฉลี่ย (จากการขายผลผลิตหลัก) 93,675.82 บาทต่อปี หลังเข้าทดลองระบบเกษตรอินทรีย์
                       PGS (ระบบเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม)เกษตรกรมีรายได้เฉลี่ย 138,211.60 บาทต่อปี หรือเพิ่มขึ้น
                       ร้อยละ 47.54 เมื่อน าผลมาทดสอบทางสถิติ พบว่า รายได้เฉลี่ยต่อปี (จากการขายผลผลิต) ของระบบ

                       เกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมสูงกว่ารายได้เฉลี่ยต่อปี(จากการขายผลผลิต)ของระบบเกษตรเคมี อย่าง
                       มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% หรือกล่าวได้ว่าการผลิตในระบบเกษตรอินทรีย์ PGS

                       ช่วยเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรที่ผ่านการรับรอง PGS
                                   เมื่อพิจารณาข้อมูลเป็นรายจังหวัด  จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่ารายได้เฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างใน

                       ทุกจังหวัด เมื่อเข้าสู่การผลิตระบบเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมแล้ว จะมีรายได้เพิ่มมากขึ้น
                       โดยจังหวัดที่มีรายได้เพิ่มมากที่สุด คือ จังหวัดยโสธร มีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ  121.86  รองลงมา คือ

                       จังหวัดสุรินทร์  เชียงใหม่  นครปฐมและล าปาง  โดยมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 65.69  48.21  47.16
                       และ 13.04  ตามล าดับ  ทั้งนี้เนื่องจากเกษตรกรจะได้ใบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ PGS  ท าให้
                       สามารถขายผลผลิตได้ในราคาสูงมากขึ้น เช่น ราคาข้าวสารอินทรีย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 30 จากราคาข้าว

                       สารเคมี ราคาฝรั่งอินทรีย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 40 จากราคาฝรั่งเคมี และราคาแตงโมอินทรีย์เพิ่มขึ้นร้อยละ
                       30 จากราคาแตงโมเคมี เป็นต้น เมื่อขายผลผลิตได้ในราคาที่สูงขึ้นกว่าราคาสินค้าทั่วไป  ส่งผลให้

                       เกษตรกรมีรายได้เพิ่มมากขึ้น สอดคล้องกับผลการวิจัยของอรกช  (2553) ที่พบว่าการปลูกข้าวแบบ
                       เกษตรอินทรีย์ให้ผลตอบแทนสูงกว่าเกษตรเคมีในเกือบทุกพื้นที่ และเกษตรกรที่ได้รับผลตอบแทนสูง

                       แลกเปลี่ยนประสบการณ์ว่า การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ สารก าจัดวัชพืชจากธรรมชาติและการดูแลเอาใจใส่
                       ที่นาอย่างสม่ าเสมอตามรูปแบบเกษตรอินทรีย์ท าให้ได้ผลตอบแทนสูง การประมวลผลโดยวิธีการทาง

                       สถิติ ยังสนับสนุนผลการศึกษาข้างต้นอย่างมีนัยส าคัญว่า ราคาของผลผลิต และรายได้เฉลี่ยที่สูงกว่า
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74