Page 67 - การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
P. 67

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       57







                       ตารางที่ 19  การเปรียบเทียบความแตกต่างของต้นทุนการผลิตในระบบเกษตรอินทรีย์ PGS และ
                                      ระบบเกษตรเคมี

                                                      ต้นทุนการผลิต (บาท/ไร่/ปี)   ร้อยละของ
                                         จ านวน                    เกษตรอินทรีย์   ต้นทุนการ
                         กลุ่มเกษตรกร              เกษตรเคมี                                     t      Sig.
                                          ราย                     แบบมีส่วนร่วม      ผลิตที่
                                                 (ก่อนเข้า PGS)
                                                                  (หลังเข้า PGS)     ลดลง
                       จังหวัดสุรินทร์     48       2,788.19         1,878.75        32.62
                       จังหวัดเชียงใหม่    41       2,789.02         2,028.78        27.26

                       จังหวัดล าปาง       34       1,652.94           633.24        59.88
                       จังหวัดนครปฐม       14        2,532.82         1,391.43       45.06    36.315  0.000*
                       จังหวัดยโสธร        16        3,500.00         3,137.50       10.36
                             รวม          153     2,584.92            1,735.88       32.85

                              จากตารางที่ 19  ผลการศึกษา พบว่าก่อนเข้าสู่ระบบ PGS เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตเฉลี่ย

                       2,584.92 บาทต่อไร่ต่อปี หลังเข้าสู่ระบบ PGS เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 1,735.88 บาทต่อไร่
                       ต่อปี หรือลดลงเฉลี่ยร้อยละ 32.85 และเมื่อน าผลมาทดสอบทางสถิติ พบว่า ต้นทุนการผลิตเฉลี่ยของ
                       การผลิตในระบบเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมต่ ากว่าต้นทุนเฉลี่ยของในการผลิตระบบเกษตรเคมี
                       อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % หรือกล่าวได้ว่าการผลิตในระบบเกษตรอินทรีย์

                       แบบมีส่วนร่วมช่วยลดต้นทุนการผลิตลงได้
                                  เมื่อพิจารณาข้อมูลเป็นรายจังหวัด  จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าต้นทุนการผลิตเฉลี่ยของกลุ่ม
                       ตัวอย่างในทุกจังหวัด เมื่อเข้าสู่การผลิตระบบเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมแล้ว จะมีต้นทุนการผลิต

                       ลดลง โดยจังหวัดที่ต้นทุนการผลิตลดลงมากที่สุด คือ จังหวัดล าปาง  มีต้นทุนการผลิตลดลงร้อยละ
                       59.88  รองลงมา คือ จังหวัดนครปฐม สุรินทร์  เชียงใหม่  และยโสธร   โดยมีต้นทุนการผลิตลดลง
                       ร้อยละ 45.06  32.62  27.16  และ 10.36  ตามล าดับ    ต้นทุนส าคัญที่ท าให้ต้นทุนการผลิตของทุก
                       จังหวัดลดลง คือ ต้นทุนค่าปุ๋ยเคมี และยาเคมีก าจัดวัชพืช/แมลงศัตรูพืช ที่ไม่มีการใช้ในการผลิต
                       ระบบเกษตรอินทรีย์   เหตุผลที่เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างจังหวัดล าปางมีต้นทุนการผลิตเมื่อท าการผลิต

                       เกษตรอินทรีย์ PGS ลดลงมากที่สุด เนื่องจากชนิดพืชที่ปลูกเป็นการปลูกพืชสมุนไพรแบบผสมผสาน
                       หลากหลาย   และพื้นที่การเพาะปลูกมีขนาดเล็กท าให้มีต้นทุนไม่มาก  และไม่มีค่าจ้างปลูก ค่าจ้างไถ
                       และค่าจ้างเก็บเกี่ยว  ในขณะที่จังหวัดยโสธรมีต้นทุนการผลิตลดลงน้อยที่สุด เนื่องจากชนิดพืชหลักที่

                       ปลูกคือข้าวกับแตงโม  ซึ่งมีต้นทุนค่าจ้างปลูก ค่าจ้างไถ และค่าจ้างเก็บเกี่ยวสูงกว่าจังหวัดอื่นๆซึ่งมี
                       ต้นทุนค่าจ้างปลูกกับค่าจ้างเก็บเกี่ยวสูงกว่าจังหวัดอื่นๆ  ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตสูงกว่าจังหวัดอื่นๆ
                       (ตารางผนวกที่ 1-6)
                                    ตามที่ได้กล่าวไปแล้วว่าต้นทุนการผลิตที่ลดลงอย่างเห็นได้ชัดเจนคือ ค่าปุ๋ยเคมีและค่ายา

                       ก าจัดศัตรูพืช (ยาฆ่าหญ้าและยาฆ่าแมลง) เพราะการผลิตในระบบเกษตรอินทรีย์ไม่อนุญาติให้ใช้
                       ปุ๋ยเคมีและสารเคมีทางการเกษตร เกษตรกรจึงต้องหันมาใช้ปัจจัยการผลิตจากธรรมชาติที่มีอยู่ใน
                       ท้องถิ่น เช่น การผลิตปุ๋ยหมัก น้ าหมักชีวภาพ  จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง  การปลูกพืชปุ๋ยสด การใช้ปุ๋ย
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72