Page 68 - การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
P. 68

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       58







                       มูลไส้เดือนดิน  เป็นต้น  ซึ่งวัตุถดิบที่ใช้ในการผลิตจะหาจากภายในของฟาร์มตนเองหรือภายในกลุ่ม
                       หรือภายในชุมชนเป็นล าดับแรก  และอาจขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงาน เช่น กรมพัฒนาที่ดิน
                       กรมส่งเสริมการเกษตร กรมการข้าว กรมวิชาการเกษตร เป็นต้น นอกจากนี้เกษตรกรที่เข้าสู่ระบบ
                       PGS ที่มีการปลูกพืชผสมผสานและท าเกษตรอินทรีย์มานาน เกษตรกรเหล่านี้จะมีต้นทุนค่าปุ๋ยอินทรีย์

                       ที่ต่ าลงมาก เนื่องจากระบบนิเวศเกิดความสมดุล  ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่จะเป็นการหาซื้อวัตถุดิบ
                       บางอย่างที่ไม่มีฟาร์มของตนเอง เช่น มูลสัตว์ (ในกรณีที่เกษตรกรไม่ได้เลี้ยงสัตว์) ค่ากากน้ าตาล
                       (กรณีที่ไม่ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงาน) ทั้งนี้การใช้ปุ๋ยอินทรีย์  สารอินทรีย์ เป็นสิ่งที่จ าเป็นใน
                       การปรับปรุงบ ารุงดินด้วยการเติมอินทรียวัตถุ และท าให้ดินมีชีวิตด้วยจุลินทรีย์ที่มีอยู่ในธรรมชาติ

                       ส าหรับการฉีดพ่นสารอินทรีย์ไล่แมลงศัตรูพืช จะท าเพื่อปกปูองผลผลิตเท่านั้น ในขณะที่การผลิตใน
                       ระบบเกษตรเคมี  เกษตรกรจะต้องซื้อปุ๋ยเคมีและสารเคมีทางการเกษตร  ได้แก่ ปุ๋ยเคมีสูตรต่างๆ
                       เช่น  สูตร 46-0-0 16-16-8  15-15-15 สารก าจัดแมลงศัตรูพืช เช่น เมทิลพาราไทออน  เมทามิโดฟอส
                       เป็นต้น  สารฆ่าหญ้า  เช่น พาราควอตไดคลอไรด์ ท าให้ต้นทุนการผลิตสูงมากกว่าการผลิตเกษตร

                       อินทรีย์แบบมีส่วนร่วม สอดคล้องกับผลการศึกษาของยงยุทธ และคณะ (2555)  ที่ได้ศึกษาการ
                       ส่งเสริมการท าเกษตรอินทรีย์และการบริหารจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานของเกษตรกรในอ าเภอ
                       สันทราย จังหวัดเชียงใหม่ กับกลุ่มเกษตรกรที่ต้องการรับการส่งเสริมการท าการเกษตรอินทรีย์ด้วย

                       กระบวนการบริหารจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน จ านวน  51 คน/ครัวเรือน ซึ่งเป็นเกษตรกรใน
                       ต าบลต่างๆ 12  ต าบล  โดยเข้ารับการส่งเสริมท าเกษตรอินทรีย์และรับกระบวนการเรียนรู้การ
                       บริหารจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน เกี่ยวกับดิน พันธุ์พืช พัฒนาการของพืช  ระบบนิเวศในแปลง
                       ปลูกพืช  ศัตรูข้าว แมลงศัตรูพืชโรคพืชและการก าจัดวัชพืช น้ า และสารเคมี รวมทั้งก าหนดให้
                       เกษตรกรทดลองท าการผลิตเกษตรอินทรีย์ในแปลงปลูกของตนเอง ทั้งที่มีอยู่ก่อนหน้าแล้วหรือเพิ่ง

                       เริ่มผลิตใหม่พร้อมๆ กับการรับการส่งเสริม ท าการประเมินความรู้จากการส่งเสริม และเปรียบเทียบ
                       พฤติกรรมการท าการเกษตรระหว่างก่อนกับหลังรับการส่งเสริม พบว่าหลังรับการส่งเสริม เกษตรกร
                       มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานแตกต่างจากก่อนรับการส่งเสริมอย่าง

                       มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 คือ หลังรับการส่งเสริมมีความรู้ความเข้าใจสูงกว่า พฤติกรรมการท า
                       การเกษตรของเกษตรกรเปลี่ยนแปลงไปอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01  ผลการประเมิน
                       พฤติกรรมแสดงให้เห็นว่า เกษตรกรงดการใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมีและหันไปใช้ชีววิธี ซึ่งสอดคล้องกับ
                       หลักการของระบบเกษตรอินทรีย์ที่ไม่ต้องการให้ใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมี และเกษตรกรประสบปัญหา

                       ส าคัญเรื่องการขาดเงินทุนหมุนเวียนส าหรับท าการเกษตร และปัญหาเงินไม่เหลือออมทั้งก่อนและหลัง
                       รับการส่งเสริม แต่แนวโน้มของปัญหาลดลง เนื่องมาจากรายจ่ายการซื้อปุ๋ยอินทรีย์และสารชีวภาพ
                       ส าหรับการผลิตเกษตรอินทรีย์จะลดต่ าลงในระยะยาว เพราะเกษตรกรผลิตขึ้นมาใช้เอง
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73