Page 49 - การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
P. 49

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       39







                                 จากตารางที่ 7 จะพบว่าเกษตรกรในกลุ่มที่ผ่านการรับรอง PGS ส่วนใหญ่จบการศึกษาใน
                       ระดับประถม  จ านวน 98 คน  รองลงมาคือ ระดับมัธยม จ านวน 36 คน ปริญญาตรีจ านวน 14 คน
                       อนุปริญญาจ านวน  3 คน และปริญญาโทจ านวน 2 คน  คิดเป็นร้อยละ  64.00  23.53  9.15  1.96

                       และ 1.31 ตามล าดับ
                                    เกษตรกรในกลุ่มที่ไม่ผ่านการรับรอง PGS  ส่วนใหญ่จบการศึกษาในระดับประถม จ านวน

                       89 คน รองลงมาคือ ระดับมัธยม จ านวน 28 คน ปริญญาตรีจ านวน 4  คน และปริญญาโทจ านวน
                       1 คน  คิดเป็นร้อยละ 72.90  23.00 3.30  และ 0.80  ตามล าดับ  เมื่อน าข้อมูลมาทดสอบ
                       สมมติฐานความแตกต่างระหว่าง   ระดับการศึกษากับการผ่านการรับรอง PGS ด้วยการวิเคราะห์ทาง

                       สถิติ Chi square  พบว่า ² = 6.91 df =  4   p-value = 0.140 เนื่องจากค่านัยส าคัญที่ได้มีค่า
                       มากกว่าระดับนัยส าคัญทางสถิติที่ก าหนด   =  0.05    ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า เกษตรกรที่เข้าร่วม
                       โครงการที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกัน มีการผ่านการรับรอง PGS ไม่แตกต่างกัน


                       ตารางที่ 8  ผลการทดสอบปัจจัยข้อมูลส่วนบุคคลด้านสถานะการเป็นหมอดินอาสาที่มีต่อการผ่านการ
                                      รับรอง PGS


                            สถานะการเป็น           การผ่านการรับรอง PGS (จ านวนคน)             รวม
                            หมอดินอาสา                 ไม่ผ่าน              ผ่าน
                          ไม่เป็นหมอดินอาสา        119 (97.50%)         147 (96.10%)       266 (96.70%)


                           เป็นหมอดินอาสา            3 (2.50%)            6 (3.90%)          9 (3.30%)

                                รวม                122 (100.00%)       153 (100.00%)      275 (100.00%)


                       ² =  0.45  df =  1  p-value  =  0.498


                                     จากตารางที่ 8 จะพบว่ากลุ่มตัวอย่างที่เป็นหมอดินอาสามีเพียง 9 คน  และผ่านการ
                       รับรอง PGS จ านวน 6 คน  เมื่อน าข้อมูลมาทดสอบสมมติฐานความแตกต่างระหว่างสถานะการเป็น

                       หมอดินกับการผ่านการรับรอง PGS พบว่า ² =  0.45 df = 1  p-value  = 0.498 เนื่องจากค่า
                       นัยส าคัญที่ได้มีค่ามากกว่าระดับนัยส าคัญทางสถิติที่ก าหนด   = 0.05 ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า เกษตรกร
                       ที่เข้าร่วมโครงการที่มีสถานะการเป็นหมอดินอาสาแตกต่างกัน   มีการผ่านการรับรอง PGS

                       ไม่แตกต่างกัน
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54