Page 47 - การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
P. 47

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       37








                       ตารางที่ 5  ผลการทดสอบปัจจัยข้อมูลส่วนบุคคลด้านเพศที่มีต่อการผ่านการรับรอง PGS

                                                   การผ่านการรับรอง PGS (จ านวนคน)
                                เพศ                                                            รวม
                                                       ไม่ผ่าน              ผ่าน
                                หญิง                     62 (50.8%)      95 (62.1%)         157 (57.1%)

                                ชาย                   60 (49.2%)         58 (37.9%)           118 (42.9%)


                                รวม                122 (100.00%)       153 (100.00%)      275 (100.00%)

                       ² =  3.52   df =  1   p-value  =  0.061

                              จากตารางที่ 5 จะพบว่า เกษตรกรกลุ่มที่ผ่านการรับรอง PGS   มีจ านวน 153 คน คิดเป็น
                       ร้อยละ 55.6  เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย เพศหญิงมีจ านวน 95 คน  คิดเป็นร้อยละ 62.10   และ
                       เพศชายมีจ านวน 58 คน  คิดเป็นร้อยละ 37.90   ในกลุ่มที่ไม่ผ่านการรับรอง PGS  มีจ านวน 122

                       คน  คิดเป็นร้อยละ 44.4  เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชายเช่นกัน   เพศหญิงมีจ านวน 62 คน  คิดเป็น
                       ร้อยละ 50.80  และเพศชายมีจ านวน 60 คน  คิดเป็นร้อยละ 49.20 เมื่อน าข้อมูลมาทดสอบ
                       สมมติฐานความแตกต่างระหว่างเพศกับการผ่านการรับรอง PGS  ด้วยการวิเคราะห์ทางสถิติ

                       Chi-square  พบว่า  ² =  3.52   df =  1  p-value  =  0.061 เนื่องจากค่านัยส าคัญที่ได้มีค่า
                       มากกว่าระดับนัยส าคัญทางสถิติที่ก าหนด   =    0.05  ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า เกษตรกรที่เข้าร่วม
                       โครงการที่มีเพศแตกต่างกัน มีการผ่านการรับรอง PGS ไม่แตกต่างกัน

                                จากตารางที่ 6 จะพบว่าเกษตรกรในกลุ่มที่ผ่านการรับรอง PGS มีอายุอยู่ในช่วง 51-60 ปี

                       เป็นจ านวนมากที่สุด คือ 62 คน  คิดเป็นร้อยละ 40.52  รองลงมามีอายุในช่วง  มากกว่า 60 ปี
                       41-50 ปี  และ 31-40 ปี  คิดเป็นร้อยละ 31.37  21.57 และ5.23 ตามล าดับ เกษตรกรในกลุ่มที่ไม่
                       ผ่านการรับรอง PGS มีอายุในช่วง 51-60 ปี  เป็นจ านวนมากที่สุด คือ 71 คน คิดเป็นร้อยละ 58.20
                       รองลงมามีอายุในช่วงมากกว่า 60 ปี และ 41-50 ปี คิดเป็นร้อยละ 24.59 และ 17.21 ตามล าดับ

                       เมื่อน าข้อมูลมาทดสอบสมมติฐานความแตกต่างระหว่างอายุกับการผ่านการรับรอง PGS ด้วยการ
                       วิเคราะห์ทางสถิติ Chi  square  พบว่า  ²  =  9.98  df  =    273    p-value  =    0.128 เนื่องจาก

                       ค่านัยส าคัญที่ได้มีค่ามากกว่าระดับนัยส าคัญทางสถิติที่ก าหนด   =    0.05  ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า
                       เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการที่มีอายุแตกต่างกัน มีการผ่านการรับรอง PGS ไม่แตกต่างกัน
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52