Page 57 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 57

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       44







                       ตารางที่ 7 คําความยากงํายในการเกิดการพังทลายของดิน จ้าแนกตามภูมิภาคตําง ๆ
                                ภาค               ใต้        เหนือ     ตะวันออก    ตะวันออก     กลางและ

                                                                         เหนือ                 ตะวันออก
                       เนื้อดิน               ที่สูง ที่ลุ่ม ที่สูง ที่ลุ่ม ที่สูง ที่ลุ่ม ที่สูง ที่ลุ่ม ที่สูง ที่ลุ่ม
                       ดินทราย                0.04 0.04    -     -      -     -   0.05 0.05     -     -

                       ดินทรายปนดินร่วน       0.04 0.04 0.05 0.06 0.04 0.05 0.07 0.08 0.08 0.07
                       ดินร่วนปนทราย          0.20 0.30 0.27 0.30 0.24 0.26 0.19 0.34 0.34 0.26
                       ดินร่วน                0.33 0.34 0.33 0.35 0.29 0.35 0.30 0.33 0.33 0.43

                       ดินร่วนปนดินทรายแป้ง   0.40 0.34 0.49 0.34 0.37 0.34 0.21 0.44 0.56 0.47
                       ดินทรายแป้ง             -    0.57   -     -      -     -     -     -     -     -
                       ดินร่วนเหนียวปนทราย    0.19 0.21 0.21 0.22 0.24 0.20 0.25 0.23 0.20 0.21

                       ดินร่วนเหนียว          0.29 0.31 0.24 0.27 0.25 0.36 0.30 0.25 0.28 0.29
                       ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง 0.31 0.21 0.35 0.42 0.46 0.43 0.37 0.38 0.38 0.29
                       ดินเหนียวปนทราย         -    0.81   -    0.17    -     -     -   0.18 0.15 0.17

                       ดินเหนียวปนทรายแป้ง    0.22 0.29 0.21 0.27 0.23 0.27 0.19 0.29 0.26 0.23
                       ดินเหนียว              0.11 0.14 0.15 0.18 0.13 0.15 0.12 0.14 0.14 0.18

                       ที่มา: มนู (2529)

                                     3) ปัจจัยเกี่ยวกับภูมิประเทศ (Topographic factor-LS) ได๎แกํ ความยาวของความ

                       ลาดชัน (Slope length) และความมากน๎อยของความลาดชัน (Slope gradient) ในการใช๎สมการการ
                       สูญเสียดินสากล ถือวําสองปัจจัยนี้เป็นปัจจัยเดียวกัน คือเป็นปัจจัยเกี่ยวกับภูมิประเทศ (LS) ถ๎าความ

                       ยาวและความลาดชันเพิ่มขึ้น การสูญเสียดินก็จะเพิ่มมากขึ้น  การหาคํา LS สามารถหาได๎จากแผนภาพ
                       ผลของความลาดชัน (Slope  effect  chart)  ซึ่งแสดงความสัมพันธ๑ของอัตราสํวนการสูญเสียดินกับ

                       ความยาว และเปอร๑เซ็นต๑ความชันของความลาดชัน หรือคิดค้านวณจากสมการที่ 9 และ 10

                                                   S = (0.43 + 0.30 s + 0.043 s ²)/ 6.613      (9)

                                                                  m
                                                   L = (λ / 22.13)                             (10)
                                     เมื่อ    S คือ คํา S-factor

                                            s คือ ความลาดชัน (%)
                                            λ คือ ความยาวของความลาดชัน (เมตร)

                                            m คือ   0.5 ในกรณีที่ระดับความลาดชัน ≥ 5 %
                                                   0.4  ในกรณีที่ระดับความลาดชันระหวําง 3.5-4.5 %

                                                   0.3  ในกรณีที่ระดับความลาดชันระหวําง 1-3 %
                                                   0.2  ในกรณีที่ระดับความลาดชัน < 1 %
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62