Page 54 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 54

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       41







                                     Wischmeier  เป็นผู๎คิดดัชนีการชะล๎างพังทลายของดินที่เกิดจากฝน (Rainfall
                       erosion index) (สมเจตน๑, 2526) โดยใช๎วิธีการค้านวณคํา R ดังตํอไปนี้

                                                          ∑



                                     เมื่อ   R คือ ปัจจัยที่เกี่ยวกับฝนและน้้าที่ไหลบําตามผิวดิน (ตันตํอเฮกตาร๑ตํอปี)

                                                     คือ ดัชนีการชะล๎างพังทลายของดินที่เกิดจากฝนแตํละครั้ง

                                            ∑      คือ Summation (ผลรวมทั้งหมด)


                                            N      คือ จ้านวนพายุในเวลานั้น ๆ ที่ต๎องการ

                                     การประเมินคํา R  นั้น สามารถหาได๎จากแผนที่ที่เรียกวํา Isoerodent  map  เป็น
                       แผนที่ที่แสดงเส๎นของ R  ที่มีคําเทํากันในบริเวณตําง ๆ เส๎นที่ลากผํานจุด สถานที่ที่มีคํา R  เทํากันนี้

                       เรียกวํา Isoerodent line

                                     ในการประเมินคํา R ของประเทศไทยได๎ใช๎การวิเคราะห๑สมการเส๎นตรงของปริมาณ
                       ฝนรวมทั้งปีกับคําดัชนีการกัดชะของฝน และแบํงพื้นที่ประเทศไทย ออกเป็น 2 ประเภท คือ


                                            (1) ภูมิอากาศแบบป่าฝนเขตร๎อน (Tropical Rainforest Climate) ได๎แกํ
                       บริเวณภาคใต๎ตั้งแตํจังหวัดชุมพรลงไป และแถบภาคตะวันออกตอนล๎างบริเวณจังหวัดจันทบุรีและ

                       ตราด มีสมการ ดังนี้

                                                           Y = -13.3905 + 0.196X

                                            (2) ภูมิอากาศแบบทุํงหญ๎าเขตร๎อน (Tropical  Savannah  Climate)  ซึ่งได๎แกํ
                       บริเวณสํวนใหญํของภาคกลาง ภาคตะวันออก ตะวันตก เหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี

                       สมการดังตํอไปนี้

                                                           Y = -0.0375 + 0.163X

                                     เมื่อ   X คือ ปริมาณฝนรวมทั้งปี (มิลลิเมตร)

                                            Y คือ คํา R หรือคําดัชนีการกัดกรํอนของฝน (ตันตํอเฮกตาร๑ตํอปี) (มนู, 2529)


                                     2) ปัจจัยเกี่ยวกับความยากงํายในการเกิดการชะล๎างพังทลายของดิน (Soil
                       erodibility factor) (K-factor) ในการประเมินคํา K นั้น Wischmeier et al. (1971) ได๎ใช๎วิธีการ
                       ประเมินโดยใช๎แผนภาพโนโมกราฟ (Nomograph)  ภาพที่ 3.1 หรือสมการที่ 6 ในบทที่ 1 ซึ่งจะ

                       พิจารณาคุณสมบัติของดิน 5  ประการ คือ เปอร๑เซ็นต๑ทรายแป้ง + เปอร๑เซ็นต๑ทรายละเอียดมาก
                       (%Silt  +  %Very  fine  sand)  เปอร๑เซ็นต๑ทราย (%Sand)  ที่มีอนุภาคใหญํกวํา 0.10  มิลลิเมตร
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59