Page 53 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 53

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       40







                                            R  คือ คําปัจจัยชะล๎างพังทลายของฝน (rainfall  erosivity  factor,
                       R-factor) เป็นตัวเลขแสดงถึงความสามารถของฝนในการกํอให๎เกิดการกัดชะในปีหนึ่ง ๆ โดยค้านวณ
                       มาจากวิธี EI 30max  (ตันตํอเฮกตาร๑ตํอปี)

                                            K คือ คําปัจจัยความคงทนตํอการชะล๎างพังทลายของดิน (soil erodibility
                       factor,  K-factor)  แตํละชนิด เป็นอัตราการเกิดการพังทลายของดินตํอหนํวยของดัชนีการพังทลาย

                       (Erosion index) ส้าหรับดินใดดินหนึ่งโดยเฉพาะเมื่อดินนั้นได๎รับการไถพรวนและปลํอยทิ้งวํางเปลํา
                       ติดตํอกัน และอยูํบนพื้นที่ซึ่งมีความลาดชัน 9 เปอร๑เซ็นต๑ และมีความยาวของความลาดชัน 21.13

                       เมตร (72.6 ฟุต)
                                            L คือ คําปัจจัยความยาวของความลาดเท (slope length factor,

                       L-factor) เป็นอัตราสํวนของการสูญเสียดินที่เกิดขึ้นจากสภาพความยาวของความลาดชันในสนาม
                       (Field  slope)  กับการสูญเสียดินที่เกิดจากความลาดยาวของความลาดชัน 21.13 เมตร (72.6 ฟุต)
                       ซึ่งเป็นดินชนิดเดียวกัน มีความชันของความลาดเทเทํากัน และมีสภาพอื่น ๆ เหมือนกัน

                                            S คือ คําปัจจัยของความลาดชัน (slope gradient factor, S-factor) เป็น
                       คําอัตราสํวนของการสูญเสียดิน ระหวํางการสูญเสียดินที่เกิดจากสภาพความลาดชันในสนามกับการ

                       สูญเสียดินที่เกิดจากความลาดชัน 9 เปอร๑เซ็นต๑  ซึ่งเป็นดินชนิดเดียวกัน มีความชันของความลาดเท
                       เทํากัน และมีสภาพอื่น ๆ เหมือนกัน

                                            C  คือ คําปัจจัยการจัดการปลูกพืช (cropping  management  factor,
                       C-factor) เป็นอัตราสํวนของการสูญเสียดินระหวํางการสูญเสียดินที่เกิดขึ้นในสนาม และมีพืชและการ

                       จัดการอยํางใดอยํางหนึ่งโดยเฉพาะ กับการสูญเสียดินจากแปลงที่ไถพรวนแล๎วปลํอยไว๎วํางเปลํา ซึ่ง
                       เป็นดินชนิดเดียวกัน และสภาพอื่น ๆ เหมือนกัน
                                            P  คือ คําปัจจัยวิธีการอนุรักษ๑ดิน (practice  management  factor,

                       P-factor) เป็นอัตราสํวนของการสูญเสียดินระหวํางการสูญเสียดินที่เกิดจากแปลงที่ท้าการอนุรักษ๑ดิน
                       เชํน ไถพรวนตามแนวระดับ การปลูกพืชเป็นแถบสลับหรือการท้านาขั้นบันได กับการสูญเสียดินที่เกิด

                       จากการไถพรวนและปลูกพืชขนานไปกับทิศทางความลาดชัน ดินที่เกิดการสูญเสียทั้งสองแหํงนี้เป็น
                       ดินชนิดเดียวกัน และภายใต๎สภาพแวดล๎อมอื่น ๆ และสภาพพื้นที่เหมือนกัน
                                     สมการการสูญเสียดินสากลนี้ ใช๎เป็นแนวทางในการคาดคะเนปริมาณการชะล๎าง

                       พังทลายดินที่คาดวําจะเกิดขึ้นกับพื้นที่หนึ่ง ๆ ที่มีการใช๎ประโยชน๑อยํางใดอยํางหนึ่ง จึงเป็นเครื่องมือ
                       ที่ส้าคัญเครื่องมือหนึ่งนการวางแผนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงการใช๎ประโยชน๑ที่ดินและวิธีการอนุรักษ๑

                       ซึ่งเป็นวิธีการที่ดีที่สุดในปัจจุบัน (นิพนธ๑, 2527)

                              3.6.1 ปัจจัยที่เกี่ยวข๎องกับสมการการสูญเสียดิน

                                     1) ปัจจัยเกี่ยวกับความสามารถในการท้าให๎เกิดการชะล๎างพังทลายของฝน
                       (Rainfall and runoff factor) (R-factor)
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58