Page 50 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 50

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       37







                       ผลผลิตด๎วยการใช๎ปุ๋ยสูตร 0-0-60  อัตรา 1  กิโลกรัมตํอต๎น และหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตใช๎ปุ๋ยสูตร 15-15-
                       15 และปุ๋ยสูตร 46-0-0 ในอัตราเทํากัน คือ 1 กิโลกรัมตํอต๎น ซ้้าอีกครั้ง
                                            (7) ส๎มเขียวหวาน อายุ 1 ปี ใช๎ปุ๋ยสูตร 20-10-10  หรือปุ๋ยสูตร  25-7-7
                       หรือปุ๋ยสูตร 15-15-15 + 46-0-0 (สัดสํวน 1:1) อัตรา 0.5-1.0 กิโลกรัมตํอต๎น โดยแบํงใสํ   4-6 เดือน

                       ตํอครั้ง และปุ๋ยอินทรีย๑ 10-20 กิโลกรัมตํอต๎น เพียงครั้งเดียวในชํวงฤดูฝน ปีที่ 4-6 ใช๎ปุ๋ยสูตรเดียวกัน
                       กับส๎มปีที่ 1 แตํเพิ่มอัตราเป็น 1-2  กิโลกรัมตํอต๎น โดยใสํ 3-4  เดือนตํอครั้ง และปุ๋ยอินทรีย๑ 20-50

                       กิโลกรัมตํอต๎น เพียงครั้งเดียวในชํวงฤดูฝน และอายุ 4 ปีขึ้นไป ซึ่งส๎มจะเริ่มให๎ผลผลิต ควรแบํงการใสํ
                       ปุ๋ยเป็น 3  ชํวง คือ ชํวงกํอนออกดอก ใสํปุ๋ยสูตร 12-24-12  อัตรา 1 กิโลกรัมตํอต๎น และพํนปุ๋ยธาตุ

                       รองและธาตุอาหารเสริมทางใบ ในระยะติดผล พํนปุ๋ยธาตุรองและธาตุอาหารเสริมทางใบเชํนเดียวกัน
                       ส้าหรับชํวงใกล๎เก็บเกี่ยวผลผลิตใช๎ปุ๋ยสูตร 13-13-21 อัตรา 1-2  กิโลกรัมตํอต๎น สํวนหลังการเก็บเกี่ยว

                       ผลผลิตแล๎ว ควรใช๎ปุ๋ยสูตรเดียวกันกับที่ใช๎ในส๎มอายุ 1 ปี แตํใสํอัตรา 1-3  กิโลกรัมตํอต๎น พํนปุ๋ยธาตุรอง
                       และธาตุอาหารเสริมทางใบ และใสํปุ๋ยอินทรีย๑ 20- 50 กิโลกรัมตํอต๎น (กรมพัฒนาที่ดิน, 2548)
                              3.5.2 ชุดดินวังสะพุง  (Wang  Saphung  series:  Ws)  จัดอยูํใน fine,  mixed,  active,

                       isohyperthermic Typic Haplustalfs เกิดจากการสลายตัวของหินดินดาน หรือหินฟิลไลต๑ บางแหํง
                       จะมีเนื้อปูนผสมอยูํด๎วย สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะลอนลาดถึงลอนชันเล็กน๎อย มีความลาดชัน 4-7

                       เปอร๑เซ็นต๑ ชุดดินนี้เป็นดินลึกปานกลาง มีการระบายน้้าดี คาดวําดินมีความสามารถให๎น้้าซึมผําน
                       ปานกลาง มีการไหลบําของน้้าบนผิวดินปานกลาง

                              ดินลึกไมํเกิน 20 เซนติเมตร มีเนื้อดินเป็นดินรํวน หรือดินรํวนปนดินเหนียว สีพื้นเป็นสี
                       น้้าตาลเข๎มปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลาง (pH 6.0) ดินบนตอนลํางลึกประมาณ 20-30 เซนติเมตร มี
                       เนื้อดินเป็นดินรํวนปนเหนียวหรือดินเหนียว สีพื้นเป็นสีน้้าตาลปนเหลือง หรือสีน้้าตาลแกํ ปฏิกิริยาดิน
                       เป็นกรดจัดถึงกรดจัดมาก (pH 5.0-5.5) สํวนดินตอนลํางลึกตั้งแตํ 30 เซนติเมตร ลงไป เนื้อดินเป็น

                       ดินเหนียว สีพื้นเป็นสีแดงปนเหลืองปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน๎อยถึงกรดปานกลาง (pH 6.0-6.5) ใน
                       ระดับความลึกมากกวํา 50 เซนติเมตร ลงไป จะพบเศษหินดินดานก้าลังผุพัง และปริมาณเพิ่มขึ้นตาม
                       ความลึก
                                     1) ปัญหาและข๎อจ้ากัดในการปลูกพืช

                                            (1) การชะล๎างพังทลายของหน๎าดิน
                                            (2) สมบัติทางกายภาพไมํเหมาะสม

                                            (3) ขาดแคลนน้้าส้าหรับการปลูกพืชในบางชํวง
                                            (4) ความอุดมสมบูรณ๑ของดินลดลงเร็ว เนื่องจากการชะล๎างพังทลายของ

                       ดินและขาดการบ้ารุงดิน
                                     2) การจัดการเพื่อให๎เหมาะสมในการปลูกพืช

                                            (1) การอนุรักษ๑ดินและน้้า เพื่อป้องกันการชะล๎างพังทลายของดิน ควร
                       ผสมผสานวิธีกลและวิธีทางพืช วิธีกล ได๎แกํ การท้าคันดิน ขั้นบันไดดิน คันคูแบนน้้า ทางระบายน้้า บํอ
                       ดักตะกอน หรือบํอน้้าประจ้าไรํนา เพื่อเก็บกักน้้าสํวนเกินไว๎ใช๎ประโยชน๑ในฤดูแล๎ง และวิธีทางพืช
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55