Page 45 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 45

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       32







                        พังทลายชนิดนี้ถ๎าเกิดในที่ราบ เม็ดดินก็จะไปไมํได๎ไกลนัก แตํถ๎าเกิดบนพื้นที่ลาดเขาจะถูกน้้าไหลบํา
                        หน๎าดินพัดพาไป อยํางไรก็ตาม การกัดกรํอนในลักษณะประเด็นนี้เป็นจุดเริ่มต๎นของการสูญเสียดินที่
                        คํอยเป็นคํอยไป และมักไมํคํอยมีคนสนใจกันมากนัก

                                     2) การชะล๎างพังทลายแบบผิวผําน (sheet  erosion) เม็ดดินที่ถูกกัดชะ โดย
                        กระบวนการชะล๎างพังทลายแบบนี้ นับเป็นแหลํงดินและตะกอนที่จะถูกพัดพาเคลื่อนที่ออกไปจาก

                        พื้นที่ลาดเขาโดยแรงน้้าไหลบําหน๎าดิน ซึ่งไหลเอํอเหนือผิวดินเป็นแผํนบาง ๆ อัตราการถูกพัดพาลงสูํ
                        ที่ต่้าขึ้นอยูํกับความหนาของแผํนน้้าไหลบําหน๎าดินเป็นส้าคัญ ขนาด รูปรําง และความหนาของ

                        ตะกอนก็มีสํวนอยูํมากในการที่จะถูกพัดพาไปได๎มากหรือน๎อย ซึ่งการกัดกรํอนในลักษณะนี้เห็นได๎
                        ยาก และชาวไรํมักไมํคํอยได๎สังเกตุเห็น การกัดกรํอนแบบนี้ท้าให๎เสียหน๎าดินที่มีสีด้านับเป็นสํวนที่มี

                        ความอุดมสมบูรณ๑ของดินเป็นอยํางมาก เพราะมีอินทรียวัตถุสูง การปลํอยให๎มีการกัดกรํอนเชํนนี้
                        เกิดขึ้นบํอย ๆ จะท้าให๎ผลผลิตของพืชลดลง ในขณะเดียวกันก็จ้าเป็นต๎องลงทุนหาปุ๋ยมาใสํทดแทน
                        มากขึ้น

                                     3) การชะล๎างพังทลายแบบรํองริ้ว (rill  erosion) การชะล๎างพังทลายในลักษณะนี้
                        เกิดจากน้้าไหลบําหน๎าดินรวมกันเป็นทางน้้าเล็ก ๆ แล๎วกัดเซาะลงไปในเนื้อดิน  แตํเนื่องจากความ

                        คงทนของดินแตกตํางกันไป ประกอบกับแผํนน้้าไหลบําหน๎าดินยังไมํหนามากนัก การกัดกรํอนจึง
                        เป็นไปในลักษณะรํองตื้นขนาดเล็ก กระจายทั่วผิวหน๎าดิน ปกติรํองขนาดเล็กดังกลําวจะมีแนวเกือบ

                        เป็นเส๎นตรงยาวติดตํอกันไป และขนานกันไปเป็นริ้ว ๆ รํองดังกลําวนี้ตื้นจนสามารถปรับให๎หายไปได๎
                        โดยการไถพรวนแบบธรรมดา ความรุนแรงของกระบวนเคลื่อนย๎ายในกรณีนี้ มีความรุนแรงมากกวํา

                        ที่เกิดในลักษณะการชะล๎างพังทลายแบบผิวผําน การชะล๎างพังทลายแบบรํองริ้วนี้มีหน๎าดินบางสํวน
                        จะสูญเสียไป แตํเมื่อใดเกิดรํองริ้วแล๎ว และไมํมีการปรับผิวหน๎าดินใหมํ น้้าในรํองริ้วก็จะกัดกรํอนริ้ว
                        นี้ให๎ลึก และกว๎างจนถึงชั้นลํางได๎อยํางรวดเร็ว

                                     4) การชะล๎างพังทลายแบบรํองลึก (gully  erosion) การชะล๎างพังทลายของดิน
                        ลักษณะนี้เกิดขึ้น เนื่องจากไมํได๎มีการป้องกัน หรือปรับปรุงหน๎าดินที่มีลักษณะการชะล๎างพังทลาย

                        แบบรํองริ้ว ปลํอยให๎น้้าฝนและน้้าไหลบําหน๎าดินกัดกรํอนลึกลงไปเรื่อย ๆ รํองริ้วจึงขยายตัวขึ้นเป็น
                        รํองลึกลงไปถึงดินชั้นลําง การเกิดการชะล๎างพังทลายของดินแบบรํองลึกนี้ขึ้นอยูํกับปริมาณน้้าไหล
                        ในรํองในลักษณะการกัดชะและการเคลื่อนย๎ายดิน รูปตัดของรํองลึกนี้มักเป็นตัว U หรือ ตัว V

                        แล๎วแตํชนิดของดิน การชะล๎างพังทลายแบบรํองลึกนี้ยากที่จะปรับหน๎าดินใหมํด๎วยเครื่องไถพรวน
                        ชนิดใด ต๎องเสียเวลาและลงทุนมากในการที่จะควบคุมให๎กลับสูํสภาพที่ใช๎ประโยชน๑ได๎ดีเชํนเดิม

                                     5) การชะล๎างพังทลายแบบเลื่อนไหล (mass  soil  movement) การชะล๎าง
                        พังทลายของดินแบบเลื่อนไหลนี้ เป็นการเคลื่อนของมวลดิน หรือหินบนที่ที่มีความลาดชันสูง

                        เนื่องจากแรงถํวงของโลก และความแตกตํางของความชื้นของมวลสารชนิดเดียวกัน หรือคนละชนิด
                        กัน การพังทลายแบบนี้อาจเกิดตามธรรมชาติได๎ แตํกิจกรรมของมนุษย๑มักเป็นตัวเรํงและกํอให๎เกิด

                        การชะล๎างพังทลายแบบนี้มากกวําธรรมชาติได๎
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50