Page 46 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 46

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       33







                                     6) การชะล๎างพังทลายโดยธารน้้า (stream-bank  erosion  หรือ channel
                        erosion) การพังทลายแบบนี้เกิดขึ้น เพราะล้าน้้าคํอนข๎างใหญํ จะมีน้้าไหลผํานในรํองน้้าเป็น
                        ปริมาณมากและเป็นเวลายาวนาน โดยเฉพาะภายหลังฝนตกหนัก พลังน้้าไหลตามรํองหรือล้าน้้านี้จะ

                        กัดชะดินชายฝั่งซึ่งอยูํต่้ากวําระดับผิวหน๎าดิน ท้าให๎เกิดชะโงกง้้า ใต๎ผิวน้้าลึกเข๎าไปในฝั่งจนดินบนเหนือ
                        ระดับน้้าไมํมีฐานค้้ายันที่แข็งแรงเพียงพอก็จะไหลเลื่อนและพังลงมาสูํท๎องล้าธารได๎ การพังทลาย

                        แบบนี้จะมีมากบริเวณล้าธารหักโค๎งหรือล้าน้้าเปลี่ยนทิศทางการไหล ซึ่งในบางแหํงก็ท้าให๎เสียทั้งที่
                        ท้ากินและที่อยูํอาศัยบริเวณสองฝั่งล้าน้้าได๎มากทีเดียว

                              3.4.2 ปัจจัยพื้นฐานที่มีผลตํอการชะล๎างพังทลายของดิน
                                     1) อิทธิพลของลมฟ้าอากาศ

                                            (1) อิทธิพลของฝน ปัจจัยอันส้าคัญที่สุดในบรรดาปัจจัยเกี่ยวกับลมฟ้า
                       อากาศที่มีอิทธิพลตํอการชะล๎างพังทลายของดินก็คือ ฝน ทั้งนี้เพราะแรงตกกระทบของเม็ดฝนนับเป็น
                       พลังงานอันแรกที่ท้าให๎ดินเกิดการแตกแยกออกจากกันแรงตกกระทบดังกลําว ยังเป็นตัวการตํอเนื่อง

                       ที่ท้าให๎เกิดน้้าไหลบําหน๎าดิน และการเคลื่อนย๎ายอนุภาคดินด๎วย ลักษณะอื่น ๆ ของฝนที่เกี่ยวข๎องกับ
                       การชะล๎างพังทลายของดิน คือ ลักษณะการแตกกระจายของฝน (distribution) ปริมาณการชะล๎าง

                       พังทลายจะเกิดขึ้นได๎สูงสุด เมื่อฝนตกหนัก และหน๎าดินวํางเปลําปราศจากสํงปกคลุม หรือในชํวงที่พืช
                       พรรณเพิ่งเริ่มงอกหรือเพิ่งเริ่มตั้งตัวได๎

                                            (2) อิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ
                       ระหวํางกลางวันและกลางคืน หรือระหวํางฤดูกาลนั้น มีผลตํอการปรับตัวของโครงสร๎างดิน ท้าให๎การ

                       จับตัวกันของอนุภาคดินมีแรงยึดกันน๎อยลง
                                     2) อิทธิพลของสภาพภูมิประเทศ
                                           (1) ความลาดเทของพื้นที่ นับเป็นปัจจัยส้าคัญที่สุดในกระบวนการชะล๎าง

                       พังทลายของดิน โดยทั่วไปแล๎วเมื่อความลาดเทมากขึ้น อัตราการชะล๎างพังทลายของดินจะมากขึ้น
                       ด๎วย ทั้งนี้เพราะพื้นที่ลาดชันนั้น มักท้าให๎เกิดน้้าไหลบําหน๎าดินได๎มาก เพราะดินมีโอกาสเก็บกักน้้าฝน

                       ที่ตกลงมาได๎น๎อย ท้าให๎มีการไหลบําหน๎าดินรวดเร็วและรุนแรง บนพื้นที่ที่มีความลาดเทมากนั้น เมื่อ
                       น้้าไหลบําหน๎าดินเกิดได๎รวดเร็วพลังน้้า จะกัดกรํอนและพัดพาดินที่ถูกชะล๎างลงสูํที่ต่้าได๎มาก อยํางไร
                       ก็ตาม ความลาดชันจะมีผลเพียงเล็กน๎อยในขณะที่ฝนตกแผํวเบา และนานจนกระทั่งน้้าไหลบําหน๎าดิน

                       มีอัตราไหลคงที่ แตํจะมีอิทธิพลรุนแรงมากถ๎าฝนตกในชํวงเวลาสั้น ๆ
                                           (2) ความยาวของแนวความลาดเท จากการศึกษาพบวํา ปริมาณของดินที่

                       ถูกชะล๎างพังทลายจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อความยาวของความลาดเทมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องมาจากอัตราการไหล
                       บําน้้าหน๎าดินเพิ่มมากขึ้นไปตามความยาวของความลาดเทที่ยาวมากขึ้นนั่นเอง อยํางไรก็ตาม บนพื้นที่

                       ลาดเขานั้น การกัดกรํอนผิวหน๎าดินมักจะไมํปรากฏให๎เห็นบนบริเวณสันเขาและสํวนที่เป็นเชิงลาดลง
                       มาในกรณีที่ฝนตกสม่้าเสมอทั่วทั้งลาดเขา แตํจะเห็นการชะล๎างพังทลายของดินอยํางชัดเจนบริเวณที่

                       ต่้าลงมา ตรงจุดที่น้้าไหลบําหน๎าดินเริ่มมีพลังกัดชะสูงกวําแรงต๎านทานของอนุภาคดิน ดังนั้น จึงมัก
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51