Page 44 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 44

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       31







                       พาไป (transportation) และการตกตะกอนทับถม (deposition) เม็ดดินที่ถูกพัดพาไปกับน้้าจะไหล
                       ลงสูํพื้นที่ต่้า ท้าให๎เกิดการสะสมตะกอนของดินในที่ลุํมต่้า  ตัวการกัดกรํอนที่ส้าคัญอยํางมากใน
                       ประเทศไทย ได๎แกํ การชะล๎างพังทลายโดยน้้า และการพังทลายโดยลม การชะล๎างพังทลายของดิน

                       เกิดจากสาเหตุใหญํ 2 ประการ คือ การชะล๎างพังทลายโดยธรรมชาติ (natural  erosion  or  geologic
                       erosion) เป็นการชะล๎างพังทลายซึ่งเกิดขึ้นตามธรรมชาติ โดยมีทั้งน้้าและลมเป็นตัวการ เชํน การชะ

                       ล๎างพังทลาย แผํนดินเลื่อน การพัดพาโดยลมตามชายฝั่งทะเลหรือในทะเลทราย เป็นต๎น การพัดพา
                       ดินแบบนี้เป็นแบบที่ป้องกันไมํได๎ และถ๎าเกิดมักใช๎เวลานาน เป็นการเกิดแบบคํอยเป็นคํอยไปและช๎า

                       มาก และหนึ่งที่มีมนุษย๑หรือสัตว๑เลี้ยงเข๎ามาชํวยเรํงให๎มีการกัดกรํอนเพิ่มขึ้นจากการชะล๎างพังทลาย
                       โดยธรรมชาติ เชํน การถางป่าท้าการเพาะปลูกอยํางขาดหลักวิชาการ ท้าให๎พื้นดินปราศจากสิ่งปก

                       คลุม ท้าให๎การกัดกรํอนโดยลมและฝนเกิดขึ้น และพัดพาดินสูญเสียไปได๎เพิ่มขึ้น การสูญเสียดินจะ
                       มากน๎อยเพียงใดขึ้นอยูํกับวิธีการที่ใช๎ท้าการเกษตร (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558)

                              3.4.1 การชะล๎างพังทลายของดินในเขตภูมิศาสตร๑ตําง ๆ ของโลก

                              สาเหตุส้าคัญที่ท้าให๎ดินถูกชะล๎างพังทลาย คือ ฝนและลม ซึ่งผลกระทบจากปัจจัยทั้งสองตํอ
                       การชะล๎างพังทลายของดินนี้ จะแตกตํางกันไปตามสภาพทางภูมิศาสตร๑ของโลก กลําวคือ ด๎วย

                       ปริมาณและคุณภาพของฝนและลม และสภาพทางภูมิศาสตร๑ที่แตกตํางกันออกไปในแตํละภูมิภาค จะ
                       ท้าให๎ความรุนแรงของการชะล๎างพังทลายของดินแตกตํางกัน เชํน ในเขตที่มีฝนตกน๎อยเกินไปหรือเขต

                       ที่มีฝนตกมากเกินไป การชะล๎างพังทลายของดินมักไมํคํอยรุนแรงนัก ส้าหรับประเทศไทยนั้น จะเน๎น
                       ไปที่การศึกษาความสัมพันธ๑ระหวํางน้้าฝนกับอัตราการชะล๎างพังทลายของดินเป็นหลัก
                              พื้นที่ใดก็ตามที่มีฝนตกรายปีน๎อย อัตราการชะล๎างพังทลายของดินโดยพลังน้้าจะมีน๎อย

                       เนื่องจากขาดแรงตกกระทบจนท้าให๎อนุภาคดินแตกแยกหรือมีก็น๎อย ในขณะเดียวกันก็จะขาดพลังน้้า
                       จากน้้าไหลบําหน๎าดินด๎วย และอัตราการชะล๎างพังทลายของดินจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อมีปริมาณฝนที่

                       ตกมีมากขึ้น แตํเมื่อพื้นที่ใดมีฝนตกมากกวํา 1,000 มิลลิเมตรตํอปีขึ้นไป อัตราการชะล๎างพังทลาย
                       ของดินโดยพลังน้้าก็เริ่มลดลง ทั้งนี้เพราะปริมาณฝนในปริมาณดังกลําวจะเป็นปัจจัยที่ท้าให๎พืชพรรณ

                       และป่าไม๎หนาแนํนมากขึ้นและปกคลุมหน๎าดินได๎เป็นอยํางดี
                              ดังนั้นจึงอาจกลําวได๎วํา การชะล๎างพังทลายของดินโดยพลังน้้า จะเกิดขึ้นได๎มากที่สุดใน

                       บริเวณที่มีปริมาณฝนตกปานกลาง ซึ่งพืชพรรณไมํหนาแนํนมากนัก อยํางไรก็ตามในพื้นที่ที่มีปริมาณ
                       ฝนตกมากนั้น ถ๎าหากพืชพรรณหรือป่าไม๎ที่ปกคลุมถูกท้าลายหรือเปลี่ยนสภาพไป  ศักยภาพในการชะ
                       ล๎างพังทลายของดินก็จะสูงมากขึ้นทันที  ซึ่งสามารถสังเกตได๎จากลักษณะการตกของฝนและพลังชะ

                       ล๎างพังทลายของน้้าฝนในเขตภูมิศาสตร๑ตําง ๆ ของโลก

                              3.4.2 รูปแบบการชะล๎างพังทลายของดินที่ส้าคัญในประเทศไทย
                                     1) การชะล๎างพังทลายแบบกระเด็น (splash  erosion) การตกกระทบของเม็ดฝน

                        ติดตํอกัน จากน้้าฝนนับหมื่นนับล๎านเม็ดนั้น จะท้าให๎อนุภาคดินบนผิวหน๎าแตกกระจาย และกระเด็น
                        ออกไปจากต้าแหนํงเดิม โดยเฉพาะจะเกิดอยํางรุนแรงบนพื้นดินที่ไมํมีสิ่งปกคลุม การชะล๎าง
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49