Page 41 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 41

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       28



















                        ภาพที่ 16 ลักษณะการพิบัติของลาดดินและหินแบบเลื่อนไถลแบบระนาบ (Translational Slide)

                              3.2.4 การเลื่อนตัวออกทางด๎านข๎าง (Lateral  Spread)   โดยทั่วไปจะเกิดบนพื้นราบหรือ

                       พื้นที่มีความลาดชันน๎อย ชั้นดินจะประกอบด๎วยตะกอนขนาดละเอียดมาก การเกิดโดยทั่วไปจะเกิด
                       กับชั้นตะกอนละเอียดที่อิ่มตัวด๎วยน้้าและมีพฤติกรรมเหมือนของไหล เนื่องจากอาจจะได๎รับ
                       แรงสั่นสะเทือนจากแผํนดินไหว หรือเกิดจากการที่มีชั้นหินหรือชั้นดินแข็งและไมํอุ๎มน้้าวางตัวทับอยูํ

                       บนชั้นดินที่อุ๎มน้้า  เมื่อชั้นดินที่อุ๎มน้้าถูกทับด๎วยน้้าหนักที่มากก็จะไหลออกด๎านข๎างท้าให๎ชั้นดินและ
                       ชั้นหินที่อยูํด๎านบนแตกออกและยุบตัว ดังแสดงในภาพที่ 17

















                        ภาพที่ 17 ลักษณะการพิบัติของลาดดินและหินแบบเลื่อนตัวออกทางด๎านข๎าง (Lateral Spread)


                              3.2.5 การเคลื่อนที่ของมวลดิน (Soil Creep) เป็นการเคลื่อนที่ของมวลดินอยํางช๎าเนื่องจาก
                       กระบวนการสูญเสียแรงต๎านทานการไหลของชั้นดิน สํงผลให๎เกิดแรงผลักดันให๎ชั้นดินมีการเคลื่อน
                       ตัวอยํางช๎าๆ แตํไมํมากพอที่จะท้าให๎เกิดการพังทลายของมวลดิน ซึ่งหลักฐานที่ใช๎ในการสังเกตคือ

                       แนวรั้วหรือก้าแพงและหรือต๎นไม๎ที่ขึ้นในบริเวณนั้นมีการเอียงตัวหรือบิดเบี้ยวไปจากเดิม ดังแสดงใน
                       ภาพที่ 18
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46