Page 42 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       29






















                            ภาพที่ 18 ลักษณะการพิบัติของลาดดินและหินแบบเคลื่อนที่ของมวลดิน (Soil Creep)

                              3.2.6 การไหล (Flows) เป็นการพิบัติของลาดดินที่มีน้้าเข๎ามาเกี่ยวข๎องมากที่สุดโดยน้้าจะท้า
                       ให๎ตะกอนมีบักษณะเป็นของไหลและเคลื่อนที่ไปบนพื้นระนาบของลาดลงไปกองทับถมกันที่ด๎านลําง

                       ของลาดดินหรือเชิงเขา ตะกอนอาจเคลื่อนที่ไปได๎เป็นระยะทางไกลและความเร็วในการเคลื่อนที่อาจ
                       สูงมากถ๎าลาดดินมีความชันสูง ทั้งนี้ยังสามารถแบํงตามชนิดของตะกอนได๎เป็น 4 ชนิด คือ


                                     1) Debris  Flow  ตะกอนที่ไหลลงมาจะมีอนุภาคหลายขนาดปะปนกันมักเกิดขึ้น
                       ตามทางน้้าเดิมที่มีอยูํแล๎วหรือบนรํองเล็กๆ บนลาดเขาซึ่งมีน้้าเป็นสํวนประกอบ โดยทั่วไปจะเป็น

                       น้้าฝนที่ตกอยํางหนักเป็นตัวกลางพัดพาเอาตะกอนดินและหินรวมถึงซากต๎นไม๎ต๎นหญ๎าไหลมารวมกัน
                       กํอนที่จะไหลมากองทับถมกันบริเวณที่ราบเชิงเขาในลักษณะของเนินตะกอนรูปพัดหน๎าหุบเขา
                       ดังแสดงในภาพที่ 19














                                     ภาพที่ 19 ลักษณะการพิบัติของลาดดินและหินแบบ Debris Flow


                                     2) Avalanche  Flow  เป็นการเคลื่อนที่ลงมาตามลาดเขา มวลดินจะประกอบด๎วย
                       ตะกอนหลากหลายขนาดปนกันและจะมีขนาดของรํองรอยการวิบัติที่มีขนาดใหญํ ดังแสดงในภาพที่ 20














                                   ภาพที่ 20 ลักษณะการพิบัติของลาดดินและหินแบบ Avalanche Flow
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47