Page 37 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       24







                       ยิ่งขึ้น ธรณีวิทยาโครงสร๎างของจังหวัดนําน มีลักษณะเป็นชั้นหินคดโค๎งแบบประทุนคว่้าและประทุน
                       หงายสลับกัน โดยมีแนวแกนคดโค๎งอยูํในทิศทางตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต๎ รอยแตกของ
                       หินสํวนใหญํจะมีทิศทางเดียวกับแนวแกนคดโค๎ง นอกจากนี้ยังมีกลุํมรอยเลื่อนปัวที่เป็นรอยเลื่อนมี

                       พลังและมีโอกาสเคลื่อนตัวอีกครั้ง พาดผํานในแนวเหนือ-ใต๎ทางด๎านตอนเหนือของจังหวัด สํงผลให๎
                       ชั้นหินในบริเวณใกล๎เคียงรอยเลื่อนมีพลัง เชํน ในอ้าเภอทุํงช๎าง อ้าเภอปัว และอ้าเภอบํอเกลือ มีรอย

                       แตกในทิศทางเหนือ-ใต๎เพิ่มขึ้นด๎วย
                              3.1.3 สภาพภูมิประเทศที่ท้าให๎เกิดดินถลํมได๎งําย ได๎แกํ พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง หรือมีทาง

                       น้้าคดเคี้ยวจ้านวนมาก นอกจากนี้ ยังพบวํา ลักษณะภูมิประเทศที่เป็นรํองเขาด๎านหน๎ารับน้้าฝนและ
                       บริเวณที่เป็นหุบเขากว๎างใหญํสลับซับซ๎อน แตํมีล้าน้้าหลักเพียงสายเดียวจะมีโอกาสเกิดดินถลํมได๎งําย

                       กวําบริเวณอื่น ๆ เนื่องจากสภาพพื้นที่เป็นภูเขาสูงท้าให๎มีลุํมน้้า และแหลํงน้้าที่เป็นต๎นก้าเนิดของต๎น
                       น้้าล้าธารส้าคัญหลายสาย เชํน แมํน้้านําน แมํน้้าสา แมํน้้าว๎า แมํน้้าสมุน แมํน้้าหลง แมํน้้าปัว แมํน้้า
                       กอน เป็นต๎น นอกจากนี้ ยังมีล้าธารและล้าห๎วยจ้านวนมาก ชาวบ๎านจึงมักตั้งถิ่นฐาน บ๎านเรือนอยูํใกล๎

                       กับแหลํงน้้า ซึ่งอาจจะเป็นพื้นที่เสี่ยงภัยตํอดินโคลนถลํมและน้้าป่าไหลหลาก สํวนพื้นที่ราบลุํม มีเป็น
                       สํวนน๎อย ได๎แกํ พื้นที่ราบกว๎างใหญํอยูํในลุํมน้้านําน ตามล้าน้้านําน และพื้นที่ราบลุํมแคบ ๆ อยูํแถบ

                       อ้าเภอนาน๎อย ตอนใต๎อ้าเภอทําวังผา อ้าเภอปัว อ้าเภอเชียงกลาง และอ้าเภอทุํงช๎าง
                              3.1.4  ปริมาณน้้าฝน ดินถลํมจะเกิดขึ้นเมื่อฝนตกหนักหรือตกติดตํอกันเป็นเวลานาน วัด

                       ปริมาณน้้าฝนได๎มากกวํา 100 มิลลิเมตรตํอ 24 ชั่วโมง และปริมาณน้้าฝนสะสมมากกวํา 300
                       มิลลิเมตร น้้าฝนจะไหลซึมลงไปในชั้นดิน จนกระทั่งชั้นดินอิ่มตัวด๎วยน้้า ความดันของน้้าในดินเพิ่มขึ้น

                       ซึ่งเป็นการเพิ่มความดันในชํองวํางของเม็ดดินโดยน้้า จะเข๎าไปแทนที่ชํองวํางระหวํางเม็ดดิน ท้าให๎
                       แรงยึดเหนี่ยวระหวํางเม็ดดินลดน๎อยลง สํงผลให๎ชั้นดินมีก้าลังรับแรงเฉือนลดลง ถ๎าหากปริมาณน้้าใน
                       มวลดินเพิ่มขึ้นจนระดับน้้าในชั้นดินสูงขึ้นมาที่ระดับผิวดิน จะเกิดการไหลบนผิวดิน และกัดเซาะหน๎า

                       ดิน ท้าให๎ลาดดินเริ่มมีการเคลื่อนตัว และเกิดการถลํมในที่สุด ลักษณะภูมิอากาศของจังหวัดนําน ใน
                       ฤดูฝนจะได๎รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต๎ พัดพาเอาความชุํมชื้นมาสูํภูมิภาค ท้าให๎มีฝนตก

                       ชุกในเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน มีปริมาณน้้าฝนเฉลี่ย 1,300 มิลลิเมตรตํอปี ในชํวง 10 ปี
                       (2543-2553) พบวํา ปริมาณน้้าฝนเฉลี่ยสูงสุดในเดือนกันยายน พ.ศ. 2545 เทํากับ 358.5 มิลลิเมตร
                       และมีจ้านวนวันที่ฝนตกมากที่สุดในปี 2551 จ้านวน 139 วัน และน๎อยที่สุดในปี 2546 จ้านวน 91 วัน

                       (ศูนย๑อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ, 2555)
                              3.1.5 สภาพสิ่งแวดล๎อม ที่มีป่าไม๎แตกตํางกันจะท้าให๎มีโอกาสเกิดดินถลํมแตกตํางกันด๎วย

                       ทั้งนี้พื้นที่ป่าธรรมชาติในบริเวณภูเขาสูงชัน พบวํา สํวนใหญํมีการบุกรุกท้าลายป่า และเปลี่ยนแปลง
                       การใช๎ประโยชน๑ที่ดินท้าการเกษตรในพื้นที่สูงหรือบริเวณเชิงเขา การตัดถนนผํานไหลํเขาสูงชัน การ

                       ตัดไหลํเขาเพื่อสร๎างบ๎านเรือนที่อยูํอาศัย หรือการปลูกสร๎างสิ่งกํอสร๎างกีดขวางทางน้้า เป็นต๎น
                       นอกจากนี้รูปแบบในการปลูกพืชก็มีผลตํอการเกิดดินถลํม โดยการปลูกพืชที่เป็นไม๎ยืนต๎นจะเกิดดิน

                       ถลํมได๎ยากกวําการท้าไรํ การปลูกพืชแบบผสมผสานจะเกิดดินถลํมได๎ยากกวําการปลูกพืชเชิงเดี่ยว ใน
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42