Page 39 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 39

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       26







                                     6) วันที่ 26 มิถุนายน 2554 เกิดฝนตกหนักตลอดทั้งวันทั้งคืน ติดตํอกัน 2 วัน
                       บริเวณพื้นที่ทางตอนเหนือของจังหวัด ได๎แกํ อ้าเภอบํอเกลือ ทุํงช๎าง ปัว และทําวังผา ซึ่งมีล้าห๎วยและ
                       แมํน้้าสาขาตําง ๆ ไหลสูํแมํน้้านําน ท้าให๎ระดับน้้าในแมํน้้านํานสูงขึ้นอยํางรวดเร็ว และไหลเข๎าทํวม

                       บ๎านเรือน และพื้นที่การเกษตรเสียหายในหลายอ้าเภอ ได๎แกํ อ้าเภอปัว ทําวังผา เมือง ภูเพียง และ
                       เวียงสา บางพื้นที่ระดับน้้าขึ้นสูงกวํา 2 เมตร

                                     7) วันที่ 28 กรกฎาคม 2561 เกิดดินถลํมที่บ๎านห๎วยขาบ หมูํที่ 7 ต้าบลบํอเกลือเหนือ อ้าเภอ
                       บํอเหลือ ท้าให๎มีบ๎านเรือนเสียหายจ้านวน 4 หลัง และเสียหายบางสํวนจ้านวน 2 หลัง

                       3.2 ลักษณะการพิบัติของลาดดิน


                              การจ้าแนกชนิดของการพิบัติของลาดดินและการพังทลายของลาดเขามีการจ้าแนกตาม
                       ลักษณะรูปแบบการพิบัติและปัจจัยที่เกี่ยวข๎องหลายอยําง เชํน ความเร็วและกลไกในการเคลื่อนที่

                       ชนิดของตะกอน รูปรํางของรํองรอยการพิบัติ และปริมาณของน้้าที่เข๎ามาเกี่ยวข๎องในกระบวนการ
                       พิบัติของเชิงลาดซึ่งการจ้าแนกชนิดของการพิบัติของลาดดินที่ใช๎กันอยํางแพรํหลายได๎ อาศัยหลักการ
                       จ้าแนกตามชนิดของวัสดุที่พังทลายลงมา (Type of Material) และตามลักษณะการเคลื่อนที่ (Type

                       of Movement) (Varnes, 1975) ซึ่งสามารถแบํงออกได๎ ดังนี้

                              3.2.1 การรํวงหลํน (Falls)  เป็นการเคลื่อนที่อยํางรวดเร็วลงมาตามลาดเขา หรือหน๎าผาสูง
                                                                                -3
                       ชันด๎วยอิทธิพลแรงโน๎มถํวงของโลก มีอัตราการเคลื่อนที่มากกวํา 3x10  เมตร/วินาที อาจเกิดการตก
                       อยํางอิสระหรือมีการกลิ้งลงมาตามลาดเขารํวมด๎วย โดยมีน้้าเข๎ามาเกี่ยวข๎องน๎อยหรือไมํ มีสํวน
                       เกี่ยวข๎อง ดังนั้นตะกอนดินหรือหินที่พังทลายลงมาจะกองสะสมกันอยูํบริเวณเชิงเขาหรือหน๎าผา






















                       ดังแสดงในภาพที่ 13

                                    ภาพที่ 13 ลักษณะการพิบัติของลาดดินและหินแบบรํวงหลํน (Falls)
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44