Page 36 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       23







                                                             บทที่ 3
                                                         การตรวจเอกสาร

                       3.1 จังหวัดน่าน

                               3.1.1 ที่ตั้ง และลักษณะภูมิประเทศ
                               จังหวัดนําน ตั้งอยูํติดชายแดนทางด๎านทิศตะวันออกของภาคเหนือตอนบน มีอาณาเขต

                       ติดตํอกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว  (สปป.ลาว) หํางจากกรุงเทพมหานครโดยทาง
                       รถยนต๑ ประมาณ 668 กิโลเมตร มีพื้นที่ 11,472.076 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 7,170,045 ไรํ

                       มีทิวเขาหลวงพระบางและทิวเขาผีปันน้้า ซึ่งเป็นทิวเขาหินแกรนิต ที่มีความสูง 600  -  1,200  เมตร
                       จากระดับทะเลปานกลาง ทอดผํานทั่วจังหวัด คิดเป็นพื้นที่ประมาณร๎อยละ 40  ของพื้นที่ทั้งจังหวัด
                       พื้นที่โดยทั่วไป มีสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนชันเกิน 30 องศา ประมาณร๎อยละ 85 ของพื้นที่จังหวัด

                       สํวนลูกคลื่นลอนลาด ตามลุํมน้้า จะเป็นที่ราบแคบ ๆ ระหวํางหุบเขาตามแนวยาวของลุํมน้้า นําน สา
                       ว๎า ปัว และกอน  สามารถจ้าแนกพื้นที่ได๎ดังนี้ 1) พื้นที่ป่าไม๎และภูเขา 3,437,500 ไรํ หรือร๎อยละ

                       47.94 2) พื้นที่ป่าเสื่อมโทรม 2,813,980 ไรํ หรือร๎อยละ 39.24 3) พื้นที่ท้าการเกษตร 876,043 ไรํ
                       หรือร๎อยละ 12.22 และ 4) พื้นที่ที่อยูํอาศัย 43,522 ไรํ หรือร๎อยละ 0.60

                              3.1.2  สภาพธรณีวิทยา ขึ้นกับชนิดของหิน และโครงสร๎างทางธรณีวิทยา หินตํางชนิดกันจะ
                       มีอัตราการผุพังตํางกัน ขึ้นอยูํกับคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีที่ตํางกัน เมื่อผุพังกลายเป็นดินจะ

                       ให๎ลักษณะดินที่แตกตํางกันด๎วย เชํน หินแกรนิต มีอัตราการผุพังสูง เมื่อผุพังจะได๎ชั้นดิน ทรายรํวน
                       หรือดินทรายปนดินเหนียว หินภูเขาไฟ มีอัตราการผุพังสูงใกล๎เคียงกับหินแกรนิต เมื่อผุพังได๎ชั้นดิน
                       รํวน ปนดินเหนียวหรือดินเหนียว หินดินดาน-หินโคลน เมื่อผุพังจะได๎ชั้นดินเหนียวหรือดินเหนียวปน

                       ทราย เป็นต๎น ลักษณะทางธรณีวิทยาของจังหวัดนําน  ด๎านตะวันออกที่เป็นเทือกเขาหลวงพระบาง
                       ติดชายแดนลาว จะเป็นหินตะกอนจ้าพวกหินกรวดมน หินทราย หินดินดาน และหินโคลนของยุคจู

                       แรสซิกถึงครีเทเชียส ตอนกลางของจังหวัด จะเป็นสํวนผสมของหินตะกอนและหินอัคนี จ้าพวกหิน
                       ทราย หินปูน หินดินดาน หินทัฟฟ์เนื้อไรโอไลต๑ผสมเนื้อแอนดีไซต๑ที่ถูกแปรสภาพ ด๎านทิศตะวันตกจะ

                       มีหินหลากหลายจ้าพวกที่เกิดในยุคไทรแอสซิกถึงยุคจูแรสซิก ที่ส้าคัญ ได๎แกํ หินกรวดมน หินทราย
                       หินทรายแป้ง และหินโคลนบางสํวน มีหินกลุํม ล้าปาง ที่เป็นหินโคลนปนหินปูนผสมหินทราย และหิน

                       ทรายแป้ง ปรากฏเป็นบริเวณกว๎างในเขตอ้าเภอสองแคว อ้าเภอทําวังผา และอ้าเภอบ๎านหลวง
                       ภายในจังหวัดมีหินอัคนีจ้าพวกหินแอนดีไซต๑ หินไรโอไลต๑ และหินทัฟฟ์ ปรากฏแทรกอยูํเป็นแนวใน
                       เขตอ้าเภอบ๎านหลวง นอกจากนี้ ยังมีหินอัคนีจ้าพวกหินแกรนิต และหินไพรอกซีไนต๑ ปรากฏให๎เห็น

                       เป็นหยํอม ๆ ในเขตอ้าเภอบํอเกลือ อ้าเภอสันติสุข  และอ้าเภอแมํจริม  โครงสร๎างทางธรณีวิทยามีผล
                       ตํอการผุพังของหิน โดยหินที่มีรอยแตกมากและอยูํในเขตรอยเลื่อน โดยเฉพาะรอยเลื่อนที่มีพลังจะมี

                       อัตราการผุพังสูง เนื่องจากมีชํองวํางให๎น้้าและอากาศผํานเข๎าไปท้าปฏิกิริยาทางเคมีได๎งําย ชั้นหินจึงผุ
                       พังรวดเร็วกวําบริเวณอื่น ชั้นหินที่ถูกแทรกดันด๎วยหินอัคนี หรือบริเวณพื้นที่ที่มีน้้าพุร๎อน และแหลํง

                       แรํจากสายน้้าแรํร๎อน ท้าให๎เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ในเนื้อหินจะท้าให๎ชั้นหินมีอัตราการผุพังสูง
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41