Page 44 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ โครงการขยายผลโครงการหลวงวาวี บ้านดอยช้าง หมู่ 3 ตำบลวาวี อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย
P. 44
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
28
เครื่องจักร ดังนั้น จึงควรหลีกเลี่ยงการท่าการเกษตรกรรมในพื้นที่นี้ สมควรกันไว้เป็นพื้นที่ป่าเพื่อรักษา
แหล่งต้นน้่าล่าธาร แต่หากมีความจ่าเป็นจะต้องใช้พื้นที่ในการปลูกพืช ควรมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้่า
และเลือกชนิดพืชปลูกให้เหมาะสม เช่น ปลูกไม้ยืนต้นหรือไม้ผลที่มีการไถพรวนดินน้อยที่สุด และควรปลูก
พืชคลุมดินระหว่างแถวพืช เพื่อป้องกันการชะล้างของหน้าดิน (กองส่ารวจและจ่าแนกดิน, 2544)
กลุ่มชุดดินที่ 62 ดินนี้ประกอบด้วยพื้นที่ภูเขา ซึ่งมีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ดินที่
พบในบริเวณดังกล่าวนี้มีทั้งดินลึกและดินตื้น ลักษณะของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติ
แตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิดของหินต้นก่าเนิดในบริเวณนั้น มักมีเศษหิน ก้อนหิน หรือหินพื้นโผล่ กระจัด
กระจายทั่วไป ส่วนใหญ่ยังปกคลุมด้วยป่าไม้ประเภทต่าง ๆ เช่น ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง หรือป่าดิบชื้น
หลายแห่งมีการท่าไร่เลื่อนลอย โดยปราศจากมาตรการในการอนุรักษ์ดินและน้่า ซึ่งเป็นผลท่าให้เกิดการ
ชะล้างพังทลายของดิน จนบางแห่งเหลือแต่หินพื้นโผล่ ได้แก่ชุดดินที่ลาดชันเชิงซ้อน (Sc) กลุ่มชุดดินนี้ ไม่
ควรน่ามาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร เนื่องจากมีปัญหาหลายประการที่มีผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ควร
สงวนไว้เป็นป่าตามธรรมชาติเพื่อรักษาแหล่งต้นน้่าล่าธาร
ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน พื้นที่ภูเขาลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ มีการกัดกร่อนของดิน
ได้ง่าย ดินกลุ่มที่ 62 มีศักยภาพไม่เหมาะสมที่จะน่ามาใช้ในการเพาะปลูกพืช เนื่องจากเป็นดินตื้น มีหิน
โผล่ที่ผิวดินเป็นส่วนใหญ่ และพื้นที่เป็นภูเขาสูงชัน มีความลาดเทเฉลี่ยเกิน 35 เปอร์เซ็นต์ ง่ายต่อการชะ
ล้างพังทลายของดินจึงเหมาะสมที่จะรักษาไว้เป็นพื้นที่ป่าไม้ธรรมชาติเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมและเป็น
พื้นที่ต้นน้่าล่าธาร
การจัดการดินกลุ่มชุดดินที่ 62 ป้องกันการบุกรุกท่าลายป่า ถ้ามีการบุกรุกท่าลายป่า ควรเร่งรัด
การปลูกป่าทดแทน และบ่ารุงรักษาป่าธรรมชาติที่มีอยู่ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น บริเวณที่ลาดชันและง่ายต่อการ
ชะล้างพังทลายควรน่ามาตรการอนุรักษ์ดินและน้่าที่เหมาะสมมาใช้ทั้งมาตรการทางเกษตรกรรมและทาง
วิศวกรรม ดินกลุ่มที่ 62 ไม่เหมาะสมอย่างยิ่งที่จะน่ามาใช้ทางการเพาะปลูกหรือทางการเกษตร ส่วนใหญ่
อยู่ในเขตลุ่มน้่าชั้น 1 ดังนั้นควรเก็บสงวนหรือรักษาไว้ให้คงสภาพเป็นป่าไม้เพื่อเป็นแหล่งต้นน้่าล่าธาร
หรือเขตป่าอนุรักษ์อื่น ๆ เนื่องจากพื้นที่ส่วนนี้มีลักษณะและคุณสมบัติที่มีผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเมื่อมี
การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินได้ง่ายและรุนแรง ในกรณีที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ควรเป็นการใช้ประโยชน์ใน
เชิงอนุรักษ์หรือทางด้านวนเกษตร
พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน (SC : slope complex) พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชันมากกว่า 35
เปอร์เซ็นต์ พื้นที่บริเวณนี้ยังไม่มีการศึกษา ส่ารวจและจ่าแนกดิน เนื่องจากสภาพพื้นที่มีความลาดชันสูง
ซึ่งถือว่ายากต่อการจัดการดูแลรักษาส่าหรับการเกษตร มีความลาดชันสูงมาก ในพื้นที่ท่าการเกษตรจะ
เกิดการชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดินอย่างรุนแรง ขาดแคลนน้่าและบางพื้นที่อาจพบชั้นหินพื้นหรือเศษ
หินกระจัดกระจายอยู่บริเวณหน้าดินควรปล่อยไว้ให้เป็นป่าตามธรรมชาติ เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า
แหล่งต้นน้่าล่าธาร ในกรณีที่จ่าเป็นต้องน่ามาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร จ่าเป็นต้องมีการศึกษาดินก่อน
เพื่อให้ทราบถึงความเหมาะสมของดินส่าหรับการปลูกพืช โดยมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในเชิงอนุรักษ์หรือวน
เกษตร ในบริเวณพื้นที่ที่เป็นดินลึกและสามารถพัฒนาแหล่งน้่าได้ มีระบบอนุรักษ์ดินและน้่า เช่น ปลูกพืช
คลุมดิน ท่าแนวรั้วหญ้าแฝกและขุดหลุมปลูกเฉพาะต้น โดยไม่มีการท่าลายไม้พื้นล่าง ส่าหรับในพื้นที่ที่ไม่มี