Page 43 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ โครงการขยายผลโครงการหลวงวาวี บ้านดอยช้าง หมู่ 3 ตำบลวาวี อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย
P. 43
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
27
หลากหลายตามธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพในการดูดซับน้่าตามธรรมชาติสูง และน่ามาซึ่งความเสื่อมโทรม
ของดินจากการชะล้างพังทลายของน้่า
สภาพภูมิประเทศแบ่งภาคเหนือออกเป็น 2 เขตย่อย คือ ภาคเหนือตอนบนและภาคเหนือ
ตอนล่าง ภาคเหนือตอนล่าง ประกอบด้วยที่ราบน้่าท่วมถึงและที่ราบแบบขั้นบันได ซึ่งประกอบกันเข้าเป็น
ดินดอนสามเหลี่ยมตอนบนของแม่น้่าเจ้าพระยา มี 10 จังหวัด ได้แก่ ก่าแพงเพชร ตาก นครสวรรค์ พิจิตร
เพชรบูรณ์ พิษณุโลก เลย สุโขทัย อุทัยธานี อุตรดิตถ์ ภาคเหนือตอนบนประกอบด้วยที่ราบแบบขั้นบันได
ชั้นสูง ที่ราบสูงขั้นต่่า เนินเขา และภูเขา ได้แก่ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน
ล่าปาง และล่าพูน ลักษณะพื้นที่แบ่งออกเป็น ที่ลุ่ม ที่ดอน และที่สูง
3.2 สภาพข้อมูลดินบนพื้นที่สูง
ลักษณะและสมบัติของดินที่พบบนพื้นที่สูง จะมีลักษณะของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ์ของ
ดินตามธรรมชาติ แตกต่างกันออกไปมากน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัยที่ก่อให้เกิดดิน ได้แก่ วัตถุต้นก่าเนิดดิน
ระดับความสูงต่่า และความลาดเทของพื้นที่ ตลอดจนพืชพรรณการใช้ประโยชน์ สภาพภูมิอากาศ และ
ระยะเวลาในการพัฒนาของดิน ดังนั้น จึงอาจพบตั้งแต่ดินตื้นจนถึงดินลึกเนื้อดินตั้งแต่ดินทรายจนถึงดิน
เหนียวสีของดินมีสีตั้งแต่สีน่้าตาลจนถึงแดง ปฏิกิริยาดินตั้งแต่เป็นกรดจัดถึงเป็นด่างแก่ การยึดตัวของดิน
อยู่ในระดับต่่า ง่ายต่อการถูกกัดเซาะ ถ้ามีการใช้ที่ดินอย่างไม่เหมาะสมจะส่งผลให้เกิดการชะล้างพังทลาย
หรือการเลื่อนไหลของดินในระดับที่ค่อนช้างรุนแรงในปัจจุบัน และคาดว่าจะรุนแรงมากขึ้นในอนาคต ทั้งนี้
สาเหตุส่าคัญเนื่องมาจากพื้นที่ป่าถูกท่าลาย ท่าให้หน้าดินเปิดโล่ง รวมทั้งการท่าเกษตรกรรมที่ขาดการ
อนุรักษ์ดินและน้่า ส่งผลกระทบท่าให้ตะกอนดินถูกชะพาลงมาสู่แหล่งน้่า ท่าให้แหล่งน้่าตื้นเขิน และดิน
ขาดความอุดมสมบูรณ์ (สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง, 2553)
ดินส่วนใหญ่ในบริเวณที่ดอนหรือพื้นที่สูงมีความอุดมสมบูรณ์ต่่า มีอินทรียวัตถุต่่ากว่า 2
เปอร์เซ็นต์ การอิ่มตัวด้วยด่างต่่าและความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวกโดยทั่วไปน้อยกว่า 3
มิลลิกรัมสัมบูรณ์ต่อ 100 กรัม สภาพของดินโดยทั่วไปเป็นกรด มีระดับความเป็นกรดเป็นด่าง อยู่ระหว่าง
5.0-6.5 ความสามารถในการซาบซึมน้่าของดินในสภาพที่มีพืชพันธุ์ขึ้นตามธรรมชาติอยู่ในระดับปานกลาง
ถึงเร็ว เป็นผลให้มีการไหลบ่าของน้่าเพียงปานกลางหรือเล็กน้อยในพื้นที่ที่มีความลาดชันต่่า มีการไหลบ่า
ของน้่าอย่างรวดเร็วในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง พืชพันธุ์ที่ขึ้นตามธรรมชาติโดยทั่วไปเป็นป่าที่ขึ้นใหม่ ซึ่งจะ
เจริญขึ้นเป็นป่าแดง ป่าโคก หรือป่าแพะ (กองส่ารวจและจ่าแนกดิน, 2544)
จากการศึกษาของ อนิรุทธิ์ (2547) พบว่าดินบนพื้นที่สูงมีความเป็นกรดด่างจะมีค่าความเป็น
กรดด่างผันแปรระหว่าง 4.5 - 5.6 ปริมาณอินทรียวัตถุสูงร้อยละ 3.5 - 5.0 ปริมาณธาตุฟอสฟอรัส
และซัลเฟอร์ที่เป็นประโยชน์ อยู่ในเกณฑ์ต่่ามากไม่เพียงพอกับความต้องการในการเจริญเติบโตของข้าว
แต่ในขณะเดียวกันปริมาณธาตุโพแทสเซียมและแมงกานีสที่แลกเปลี่ยนได้มีมาก เนื้อดินส่วนใหญ่เป็น ดิน
ร่วน มีความหนาแน่นรวมประมาณ 1.0 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ซึ่งต่่ามาก มีความโปร่งพรุน อัตราการ
แทรกซึมน้่าสูงและน้่าขังได้ไม่นานลักษณะดินง่ายต่อการถูกชะล้างพังทลายง่ายต่อการเกิดดินถล่มและการ
เกิดน้่าป่าไหลหลาก เมื่อฝนตกหนักยากต่อการไถพรวน เป็นอันตรายต่อการท่างานของคนสัตว์และ