Page 42 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ โครงการขยายผลโครงการหลวงวาวี บ้านดอยช้าง หมู่ 3 ตำบลวาวี อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       26



                                                           บทที่ 3

                                                      การตรวจเอกสาร

                   3.1 สภาพทั่วไปของพื้นที่สูง
                            สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่ของภาคเหนือร้อยละ 72 เป็นภูเขาสลับซับซ้อน บางส่วนเป็นเนินเขา
                   สลับแอ่งน้่าแคบ ๆ มีตะพักลุ่มน้่าจ่านวนมาก ตอนบนครอบคลุมเนื้อที่ในจังหวัดเชียงราย พะเยา แพร่

                   แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ล่าปาง และน่าน บางแห่งมีการผุพังสลายตัวของหิน แร่ และดินอย่างรุนแรง แต่มี
                   ข้อจ่ากัดทางการเกษตร เนื่องจากมีความลาดชันมากกว่าร้อยละ 35  ท่าให้เกิดการกร่อนของดินอย่าง
                   รุนแรง บริเวณที่ราบและค่อนข้างราบ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึงสูง และบริเวณส่วนใหญ่เป็น
                   แหล่งต้นน้่าล่าธารต้องมีความระมัดระวังเป็นพิเศษในการใช้ที่ดิน เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน

                   ชุดดินที่ส่าคัญ ได้แก่ ชุดดินเชียงแสน เชียงใหม่ ดอยปุย บ้านจ้อง พะเยา แม่แตง แม่ริม สันป่าตอง หางดง
                   ห้างฉัตร ฯลฯ ปัญหาจากการใช้ประโยชน์จากดิน ได้แก่ การท่าไร่เลื่อนลอย การกร่อนดินสูงท่าให้ดินขาด
                   ความอุดมสมบูรณ์
                            พื้นที่สูงของประเทศไทย มีทั้งสิ้นประมาณ 96.1 ล้านไร่ ประกอบด้วย ภาคเหนือ 54 ล้านไร่

                   ภาคกลาง 12 ล้านไร่ ภาคใต้ 14.6 ล้านไร่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 12.1 ล้านไร่ และภาคตะวันออก 3.4
                   ล้านไร่ กรมพัฒนาที่ดิน (2539) ได้ส่ารวจและจ่าแนกดินบนพื้นที่สูง เป็นชุดดินที่ 62 กลุ่มชุดดินนี้พบอยู่
                   บนสภาพพื้นที่ที่เป็น ภูเขาสูงชัน หรือ เป็นเทือกเขาสลับซับซ้อน ส่วนใหญ่มีความลาดเทมากกว่า 35

                   เปอร์เซ็นต์ แต่อาจพบดินที่มีลักษณะแบบเดียวกัน อยู่บนพื้นที่ที่มีความลาดเทน้อยกว่า 35 เปอร์เซ็นต์
                   ปะปนอยู่บ้าง ลักษณะและคุณสมบัติของดินที่พบมีความแตกต่างกันมาก ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่ก่อให้เกิดดิน
                   ได้แก่ วัตถุต้นก่าเนิดดิน ระดับความสูงต่่า และความลาดเทของพื้นที่ ตลอดจนความลาดเอียงของชั้นหิน
                   พืชพรรณการใช้ประโยชน์ สภาพภูมิอากาศ และระยะเวลาในการพัฒนาของดินเหล่านั้น ดังนั้นจึงอาจจะ
                   พบตั้งแต่ดินตื้นจนถึงดินลึก หรือพบปะปนอยู่ในบริเวณเดียวกันก็ได้ เนื้อดินพบตั้งแต่ ดินทรายจนถึงดิน

                   เหนียวสีของดินมีตั้งแต่สีน้่าตาลจนถึงแดง ปฏิกิริยาดินตั้งแต่เป็นกรดจัดจนถึงด่างแก่
                            พื้นที่สูงภาคเหนือของประเทศไทย มีสภาพเป็นเนินเขาและเทือกเขาสูงชัน มีความลาดชันของ
                   พื้นที่โดยเฉลี่ย 35% ขึ้นไป มีเนื้อที่ประมาณ 54 ล้านไร่ หรือร้อยละ 50.9 ของเนื้อที่ทั้งภาค ในพื้นที่นี้มี

                   ชุมชนชาวเขาเผ่าต่าง ๆ เช่น อาข่า กะเหรี่ยง ม้ง เย้า ลีซอ ฯลฯ ตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่กระจัดกระจายทั่วไป
                   เป็นเวลานาน และมักอพยพย้ายถิ่นอยู่เสมอการด่ารงชีวิตลักษณะเช่นนี้ ก่อให้เกิดการบุกรุกท่าลายป่าเพื่อ
                   ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งท่าให้ป่าไม้ถูกท่าลายเป็นจ่านวนมาก เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมเป็น
                   อย่างมากเช่น การเกิดอุทกภัยต่อพื้นที่ด้านล่าง จากการตัดไม้ท่าลายป่า  ประชากรชาวเขาโดยสวนใหญ่

                   เมื่อจะท่าการเพาะปลูกในฤดูกาลต่อไปหรือจะท่าการบุกเบิกพื้นที่ใหม่ ส่วนใหญ่จะใช้วิธีการเผาพื้นที่ป่า
                   เดิม เนื่องจากสะดวก ประหยัดแรงงาน และใช้เวลารวดเร็ว หลังจากนั้นจึงจะเข้าไปท่าการเพาะปลูกซึ่ง
                   ส่วนใหญ่จะเป็นพืชไร่อายุสั้น ท่าให้เกิดการท่าลายทรัพยากรป่าไม้อันเป็นแหล่งเก็บกักคาร์บอนทาง
                   ธรรมชาติแหล่งใหญ่และส่าคัญที่สุด เป็นการเปลี่ยนแปลง ก่อให้เกิดการลดลงของพันธุพืชคลุมดินที่มีความ
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47