Page 32 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             21




                                       ปีที่ 2 พบวํา การใสํวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตรไมํมีผลตํอปริมาณอินทรียวัตถุในดิน

                   จึงท าให๎ในแตํละต ารับการทดลองไมํมีความแตกตํางกันทางสถิติ โดยต ารับการทดลองที่มีการใสํถํานซัง
                   ข๎าวโพดอัตรา  300  กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับการใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน มีปริมาณอินทรียวัตถุในดิน
                   สูงสุดเทํากับ 3.68  เปอร์เซ็นต์ สํวนใสํมูลวัวอัตรา  300  กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับการใสํปุ๋ยเคมีตามคํา
                   วิเคราะห์ดิน มีปริมาณอินทรียวัตถุในดินต่ าสุดเทํากับ 2.96 เปอร์เซ็นต์ (ตารางที่ 4)

                                      ปีที่ 3 พบวํา การใสํและไมํใสํวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตรมีผลท าให๎ปริมาณ
                   อินทรียวัตถุในดินในแตํละต ารับการทดลองมีความแตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติ โดยการใสํปุ๋ยเคมี
                   ตามคําวิเคราะห์ดิน มีปริมาณอินทรียวัตถุในดินต่ าสุดเทํากับ 2.26  เปอร์เซ็นต์ ท าให๎มีความแตกตํางกัน
                   อยํางมีนัยส าคัญทางสถิติกับการใสํถํานซังข๎าวโพดอัตรา 100, 300  และ 500  กิโลกรัมตํอไรํ การใสํถําน

                   แกลบอัตรา 100  และ 300 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับการใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน แตํไมํมีความแตกตําง
                   กันทางสถิติกับการใสํปุ๋ยตามวิธีเกษตรกร การใสํถํานแกลบอัตรา 500  กิโลกรัมตํอไรํ และการใสํปุ๋ยคอก
                   (มูลวัว) อัตรา  300  กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับการใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน (ตารางที่ 4)  จะเห็นได๎วํา
                   ปริมาณอินทรียวัตถุไมํได๎แปรผันตามอัตราการใสํวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตร ทั้งนี้อาจเกิดจากการใสํใน

                   อัตราต่ าเกินไปจึงเห็นผลไมํชัดเจน ในขณะที่เกศศิรินทร์ และคณะ (2561) รายงานวํา ปริมาณอินทรียวัตถุ
                   ในดินจะมีคําสูงขึ้นเมื่ออัตราการใสํถํานชีวภาพจากไม๎ยูคาลิปตัส เพิ่มขึ้นตามอัตราการใสํถํานชีวภาพ
                   (อัตรา 500, 1,000 และ 2,000 กิโลกรัมตํอไรํ) เชํนเดียวกับปรเมศ และคณะ (2558) ได๎ให๎ข๎อมูลวํา การ

                   ใสํถํานชีวภาพอัตรา 500 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับการใสํปุ๋ยคอกอัตรา 1,600 กิโลกรัมตํอไรํ มีปริมาณ
                   อินทรียวัตถุในดินเพิ่มขึ้น ท าให๎ความอุดมสมบูรณ์ของดินดีขึ้น และเสาวคนธ์ (2557) พบวํา การใสํถําน
                   ชีวภาพจากไม๎ไผํ และแกลบ อัตรา 60 กรัมตํอกระถาง (1 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ าหนัก หรือ 3,120 กิโลกรัมตํอ
                   ไรํ ) ท าให๎ปริมาณอินทรียวัตถุในดินเพิ่มขึ้น
                                    การใสํถํานซังข๎าวโพด ถํานแกลบ และปุ๋ยคอก (มูลวัว)  ในอัตราเทํากัน คือ 300

                   กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน พบวํา การใสํมูลวัว ซึ่งแม๎วําจะมีปริมาณอินทรียวัตถุสูง
                   กวําถํานแกลบ และถํานซังข๎าวโพด แตํเนื่องจากปุ๋ยคอก (มูลวัว) มีอัตราการยํอยสลายเร็วกวําถํานซัง
                   ข๎าวโพดและถํานแกลบ ซึ่งถํานชีวภาพจะมีสารพวกอะโรมาติกซึ่งคงทนตํอการยํอยสลายมากกวําอินทรีย

                   สารที่ไมํได๎ผํานการเผาไหม๎ (อิสริยาภรณ์, 2552) จึงท าให๎ปริมาณอินทรียวัตถุในดินหลังเก็บเกี่ยวต่ ากวํา
                   แตํอยํางไรก็ตามมีคําไมํแตกตํางจากการใสํปุ๋ยเคมีตามวิธีเกษตรกร และการใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน
                                     จากผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนรวม 3 ปี พบวํา คําเฉลี่ยของปริมาณอินทรียวัตถุ
                   ในแตํละต ารับการทดลองมีความแตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ โดยการใสํถํานซังข๎าวโพดอัตรา

                   300 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน มีคําเฉลี่ยสูงสุด เทํากับ 3.33 เปอร์เซ็นต์ และไมํพบ
                   ปฏิสัมพันธ์ระหวํางปีกับต ารับการทดลองท าให๎ไมํมีความแตกตํางกันทางสถิติ (ตารางที่ 4) โดยมีการ
                   เปลี่ยนแปลงขึ้นลง ไมํแปรผันตามอัตราการใสํ ซึ่งสอดคล๎องกับรายงานของศิริลักษณ์ และอรสา (2556) ที่
                   พบว่า การใส่ถ่านชีวภาพ (จากฟางข้าว แกลบ และกิ่งไม้) ร่วมกับปุ๋ยคอกอัตราส่วน 75:25 (คิดเป็น อัตรา

                   800 และ 2,400 กิโลกรัมต่อไร่) ไม่ท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของอินทรียวัตถุในดินที่ชัดเจน  โดยอ๎างถึง
                   Fontaine  (2004)  ที่ระบุวํา การใช๎ถํานชีวภาพเพื่อการปรับปรุงดินส าหรับการเกษตรและการสะสม
                   คาร์บอนในดินนั้นต๎องใช๎ระยะเวลามากกวํา  5  ปีขึ้นไป  จึงจะเห็นการเปลี่ยนแปลงทางด๎านอินทรียวัตถุ
                   การเจริญเติบโตของพืช และการเพิ่มผลผลิตของพืชได๎ชัดเจน ซึ่งแตกตํางจากรายงานของวิชุตา (2556)

                   รายงานวํา การใสํถํานชีวภาพจากไม๎เนื้ออํอน อัตรา 800 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยคอกอัตรา 800
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37