Page 36 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             25




                   จะคํอย ๆ ปลดปลํอยธาตุอาหารพืชอยํางช๎า ๆ ซึ่งเป็นประโยชน์ตํอพืช รองลงมาพบวํา การใสํถํานแกลบ

                   อัตรา 500 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน มีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน
                   เทํากับ 26.67 มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม มีความแตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติกับการใสํปุ๋ยเคมีตามวิธี
                   เกษตรกร และการใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน แตํไมํมีความแตกตํางกันในทางสถิติกับการใสํซังข๎าวโพด
                   อัตรา 100, 300 และ 500 กิโลกรัมตํอไรํ และการใสํถํานแกลบอัตรา  100  และ 300  กิโลกรัมตํอไรํ

                   รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน สํวนการใสํถํานแกลบอัตรา  100  และ  300  กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับ
                   ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน มีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินเทํากัน คือ  เทํากับ 24.00
                   มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม มีความแตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติกับการใสํปุ๋ยเคมีตามวิธีเกษตรกร ซึ่งมี
                   ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินต่ าสุดเทํากับ 18.67 มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม แตํไมํมีความแตกตําง

                   กันในทางสถิติกับการใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน การใสํถํานซังข๎าวโพดอัตรา 100, 300 และ 500
                   กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน (ตารางที่ 7) ทั้งนี้ทุกต ารับการทดลองมีปริมาณ
                   โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับกํอนการทดลอง ยกเว๎น การใสํปุ๋ยเคมีตามวิธี
                   เกษตรกร ซึ่งไมํมีการใสํปุ๋ยโพแทสเซียม นอกจากนี้การใสํปุ๋ยคอก (มูลวัว) ถํานซังข๎าวโพด และถํานแกลบ

                   รํวมกับปุ๋ยเคมีตามค าแนะน า สามารถเพิ่มปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินได๎ ซึ่งสอดคล๎องกับ
                   รายงานบวร (2559) วํา ปริมาณโพแทสเซียมเพิ่มขึ้นโดยจะแปรผันตามปริมาณถํานชีวภาพอัตรา 1.0 1.5
                   และ 2.0 ตันตํอไรํ สํวนปรเมศ และคณะ (2558) ให๎ข๎อมูลวํา การใสํถํานชีวภาพอัตรา 500 กิโลกรัมตํอไรํ

                   รํวมกับการใสํปุ๋ยคอกอัตรา 1,600 กิโลกรัมตํอไรํ มีแนวโน๎มท าให๎ความอุดมสมบูรณ์ของดินเพิ่มขึ้น รวมถึง
                   วิชุตา (2556) รายงานวํา การใสํถํานชีวภาพจากไม๎เนื้ออํอน อัตรา 800 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยคอก
                   อัตรา 800 กิโลกรัมตํอไรํ ท าให๎ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได๎เพิ่มขึ้น สํงผลถึงการเจริญเติบโต และ
                   การให๎ผลผลิตข๎าวพันธุ์นาสาร พันธุ์เหลือง และข๎าวผสม (นาสารผสมเหลือง) ที่ปลูกในดินเหนียวปนทราย
                   เชํนเดียวกับดารารัตน์ และคณะ (2561) ให๎ข๎อมูลวํา ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินเพิ่มขึ้นจะ

                   มีความสัมพันธ์กับปริมาณถํานชีวภาพที่เพิ่มสูงขึ้น
                                       ปีที่ 3 พบวํา การใสํและไมํใสํวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตรไมํมีผลตํอปริมาณ
                   โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน จึงท าให๎ในแตํละต ารับการทดลองไมํมีความแตกตํางกันในทางสถิติ โดย

                   การใสํปุ๋ยคอก (มูลวัว) อัตรา 300 กิโลกรัมตํอไรํ การใสํถํานซังข๎าวโพดอัตรา 300 และ 500 กิโลกรัมตํอไรํ
                   รํวมกับใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน มีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินสูงสุดเทํากัน คือ มี
                   เทํากับ 20.00 มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม สํวนการใสํถํานแกลบอัตรา 300 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคํา
                   วิเคราะห์ดิน มีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินต่ าสุดเทํากับ 14.67 มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม (ตาราง

                   ที่ 7) แตํมีแนวโน๎มลดลงเมื่อเทียบกับกํอนการทดลอง ซึ่งสอดคล๎องกับรายงานของจาวภา และคณะ
                   (2560) วํา โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได๎ลดลงเมื่อการใสํถํานชีวภาพจากไม๎ยูคาลิปตัสรํวมกับใสํปุ๋ยมูลไกํ
                   อัตรา 300 กิโลกรัมตํอไรํ ในการปลูกข๎าวพันธุ์ชัยนาท 1 และปทุมธานี 1
                                    การใสํถํานซังข๎าวโพด ถํานแกลบ และปุ๋ยคอก (มูลวัว) ในอัตราเทํากัน คือ 300

                   กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน พบวํา  การใสํมูลวัวท าให๎ในดินมีปริมาณโพแทสเซียมที่
                   เป็นประโยชน์สูงกวําถํานซังข๎าวโพด และถํานแกลบ ซึ่งไมํสัมพันธ์กับปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์
                   ที่มีในวัสดุ ที่พบวําในถํานซังข๎าวโพดมีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์สูงสุด รองลงมาคือปุ๋ยคอก (มูล
                   วัว) และต่ าสุดคือถํานแกลบ  แตํด๎วยคุณลักษณะของปุ๋ยอินทรีย์จะคํอย ๆ ปลดปลํอยธาตุอาหารพืชอยําง

                   ช๎า ๆ ซึ่งเป็นประโยชน์ตํอพืช จึงท าให๎ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินสูงกวําวัสดุอื่น ๆ แตํ
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41