Page 35 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             24




                   ข๎าวเพื่อสร๎างผลผลิตน๎อย จึงท าให๎ผลผลิตต่ า จึงท าให๎ปริมาณฟอสฟอรัสเหลือตกค๎างในดินสูงกวํา ปีที่ 1

                   และ 3  แตํอยํางไรก็ตามปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินไมํมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับกํอน
                   การทดลอง ทั้งนี้อาจเนื่องจากปริมาณฟอสฟอรัสที่ได๎รับจากวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตรในอัตราต่ าและ
                   ปุ๋ยเคมี ไมํเพียงพอตํอการน าใช๎ของข๎าว ซึ่งได๎รับน๎อยกวําความต๎องการของข๎าว ท าให๎ข๎าวดูดใช๎ได๎หมดใน
                   แตํละปี (ตารางภาคผนวก ค ที่ 1 และ 3) นอกจากนี้หากพิจารณาตามระยะเวลาที่ใสํตั้งแตํปีที่ 1 ถึง ปีที่

                   3 พบวํา ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินสูงขึ้นเล็กน๎อยในปีที่ 2 และลดลงในปีที่ 3 ทุกต ารับการทดลอง
                   รวมทั้งการใสํปุ๋ยเคมีตามวิธีเกษตรกร และการใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดินด๎วย ซึ่งให๎ผลไมํตรงตามทฤษฎี

                   ตารางที่ 6  ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินหลังการเก็บเกี่ยวข๎าว 3 ปี


                                                            ต ารับการทดลอง
                      ปี
                              T1       T2       T3       T4      T5       T6       T7       T8       T9

                      1     1.00 b  1.00 c  1.00 b  1.00 b  1.00 b       1.00     1.00     1.00     1.00
                      2     2.33 a  2.67 a  2.67 a  2.33 a  2.00 a       1.33     1.33     1.67     1.67
                      3     1.00 b  1.33 b  1.00 b  1.00 b  1.00 b       1.00     1.00     1.33     1.67

                   F-test           Treatment                 ns
                                    Year x Treatment          *
                   C.V. (%)         31.38

                   หมายเหตุ  คําเฉลี่ยในคอลัมน์เดียวกันที่ตามด๎วยอักษรเหมือนกัน ไมํแตกตํางกันที่ระดับความเชื่อมั่น

                                 95 เปอร์เซ็นต์ โดยวิธี DMRT

                               2.2.4 ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน
                                      ปีที่ 1 พบวํา การใสํและไมํใสํวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตรไมํมีผลตํอปริมาณ

                   โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน จึงท าให๎ในแตํละต ารับการทดลองไมํมีความแตกตํางกันในทางสถิติ โดย
                   การใสํมูลวัวอัตรา 300 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน มีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็น
                   ประโยชน์ในดินสูงสุดเทํากับ 34.67 มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม การใสํปุ๋ยเคมีตามวิธีเกษตรกร และการใสํปุ๋ยเคมี

                   ตามคําวิเคราะห์ดิน มีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินต่ าสุดเทํากัน คือ มีคําเทํากับ  29.33
                   มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม (ตารางที่ 7)
                                    ปีที่ 2 พบวํา การใสํและไมํใสํวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตรมีผลตํอปริมาณโพแทสเซียม
                   ที่เป็นประโยชน์ในดิน จึงท าให๎ในแตํละต ารับการทดลองมีความแตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญยิ่งในทางสถิติ
                   โดยการใสํปุ๋ยคอก (มูลวัว) อัตรา 300 กิโลกรัม รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน มีปริมาณโพแทสเซียม

                   ที่เป็นประโยชน์ในดินสูงสุดเทํากับ 28.00 มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม มีความแตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญยิ่งทาง
                   สถิติกับการใสํปุ๋ยเคมีตามวิธีเกษตรกร การใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน และการใสํถํานซังข๎าวโพด อัตรา
                   100, 300 และ 500 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน แตํไมํมีความแตกตํางกันในทางสถิติ

                   กับการใสํถํานแกลบ อัตรา 100, 300 และ 500 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน ทั้งนี้
                   เพราะปุ๋ยคอก (มูลวัว) มีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์คํอนข๎างสูง และคุณลักษณะของปุ๋ยอินทรีย์
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40