Page 37 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             26




                   อยํางไรก็ตามพบวํา การใสํถํานซังข๎าวโพด ถํานแกลบ และปุ๋ยคอก (มูลวัว) มีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็น

                   ประโยชน์มีปริมาณสูงกวําการใสํปุ๋ยเคมีตามวิธีเกษตรกร และการใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน แตํไมํพบ
                   ความแตกตํางทางสถิติ ทั้งนี้เพราะใช๎ในอัตราต่ ากวําค าแนะน าอื่น ๆ
                                    จากผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนรวม 3 ปี พบวํา คําเฉลี่ยของปริมาณ
                   โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในแตํละต ารับการทดลองมีความแตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ โดย

                   การใสํปุ๋ยคอก (มูลวัว) อัตรา 300  กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน มีคําเฉลี่ยสูงสุด
                   เทํากับ  27.56  มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม และไมํพบปฏิสัมพันธ์ระหวํางปีกับต ารับการทดลอง โดยการใสํปุ๋ย
                   คอก (มูลวัว) อัตรา 300 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน ท าให๎ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็น
                   ประโยชน์ในดินมีคําเพิ่มขึ้นสูงสุด ในขณะที่ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในมูลวัว มีคําต่ ากวําถําน

                   ซังข๎าวโพด ซึ่งไมํเป็นตามทฤษฎี สํวนการใสํปุ๋ยเคมีตามวิธีเกษตรกรมีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์
                   ในดินมีคําต่ าสุดเทํากับ 21.33 มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม ทั้งนี้เนื่องจากไมํมีการใสํปุ๋ยโพแทสเซียม (ตารางที่ 7)
                   แตํอยํางไรก็มีแนวโน๎มเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับกํอนการทดลอง จะเห็นได๎วําการใสํปุ๋ยคอก (มูลวัว) ถํานซัง
                   ข๎าวโพด ถํานแกลบ รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน ท าให๎ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินมี

                   คําเพิ่มขึ้นสูงมากกวําการใช๎ปุ๋ยเคมีเพียงอยํางเดียว ซึ่งสอดคล๎องกับรายงานของบวร (2559) ที่ระบุวํา การ
                   ใสํถํานชีวภาพท าให๎ดินหลังเก็บเกี่ยวข๎าวมีโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินสูงขึ้น เชํนเดียวกับดารารัตน์
                   และคณะ (2561) ให๎ข๎อมูลวํา ปริมาณโพแทสเซียมในดินเพิ่มขึ้นจะมีความสัมพันธ์กับปริมาณถํานชีวภาพ

                   ที่เพิ่มสูงขึ้น  นอกจากนี้หากพิจารณาตามระยะเวลาที่ใสํตั้งแตํปีที่ 1 ถึง ปีที่ 3 พบวํา โพแทสเซียมที่เป็น
                   ประโยชน์ในดินต่ าลงทุกปีและทุกต ารับการทดลอง ทั้งนี้อาจเนื่องจากโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ที่ได๎รับ
                   จากวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตรในอัตราต่ าและปุ๋ยเคมี ไมํเพียงพอตํอการน าใช๎ของข๎าว ซึ่งได๎รับน๎อยกวํา
                   ความต๎องการของข๎าว ท าให๎ข๎าวดูดใช๎ได๎หมดในแตํละปี (ตารางภาคผนวก ค ที่ 1 และ 4)


                   ตารางที่ 7  ผลของอัตราการใสํวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตรตํอปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน
                                  (มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม)

                                        ต ารับทดลอง                      ปีที่ 1   ปีที่ 2   ปีที่ 3  ค่าเฉลี่ย
                   T1=  ใสํปุ๋ยเคมีตามวิธีเกษตรกร                       29.33  18.67 c     16.00  21.33 b
                   T2 = ใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน                   29.33  21.33 cd    16.00  22.22 b
                   T3 = ใสํถํานซังข๎าวโพด 100 กก./ไรํ + ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน   33.33  22.67 bcd  17.00  24.44 ab
                   T4 = ใสํถํานซังข๎าวโพด 300 กก./ไรํ + ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน   30.67  22.67 bcd  20.00  24.44 ab
                   T5 = ใสํถํานซังข๎าวโพด 500 กก./ไรํ + ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน   30.67  22.67 bcd  20.00  24.44 ab
                   T6 = ใสํถํานแกลบ 100 กก./ไรํ + ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน   30.67  24.00 abc  17.33  24.00 ab
                   T7 = ใสํถํานแกลบ 300 กก./ไรํ + ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน   32.00  24.00 abc  14.67  23.56 b
                   T8 = ใสํถํานแกลบ 500 กก./ไรํ + ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน   32.00  26.67 ab   16.00  24.89 ab
                   T9 = ใสํมูลวัว 300 กก./ไรํ + ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน   34.67  28.00 a   20.00  27.56 a
                                          F-test                          ns      **        ns       **
                                         C.V. (%)                        8.31    9.59      15.65   10.53
                   หมายเหตุ  คําเฉลี่ยในคอลัมน์เดียวกันที่ตามด๎วยอักษรเหมือนกัน ไมํแตกตํางกันที่ระดับความเชื่อมั่น

                                 95 เปอร์เซ็นต์ โดยวิธี DMRT
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42