Page 34 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             23




                   ประโยชน์ในดินสูงสุดเทํากับ 1.67 มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม รองลงมา คือ การใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน

                   และการใสํถํานแกลบอัตรา 500  กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน มีปริมาณฟอสฟอรัสที่
                   เป็นประโยชน์ในดินเทํากัน คือ มีคําเทํากับ 1.33 มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม สํวนต ารับการทดลองอื่นๆ มี
                   ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินเทํากับ 1.00 มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม (ตารางที่ 5)
                                     การใสํวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตรได๎แกํ ถํานซังข๎าวโพด ถํานแกลบ และมูลวัว ใน

                   อัตราเทํากัน คือ 300 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน พบวํา การใสํปุ๋ยคอก (มูลวัว)  มี
                   ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินสูงกวําถํานซังข๎าวโพด และถํานแกลบ แตํไมํมีความแตกตํางกัน
                   ทางสถิติ ซึ่งสัมพันธ์กับปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ที่มีในวัสดุ แตํอยํางไรก็ตามมีคําไมํแตกตํางจาก
                   การใสํปุ๋ยเคมีตามวิธีเกษตรกร และการใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน


                   ตารางที่ 5  ผลของอัตราการใสํวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตรตํอปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน
                                  (มิลลิกรัมตํอกิโลกรัม)

                                        ต ารับทดลอง                       ปีที่ 1   ปีที่ 2   ปีที่ 3   ค่าเฉลี่ย
                   T1=  ใสํปุ๋ยเคมีตามวิธีเกษตรกร                          1.00    2.33    1.00     1.44
                   T2 = ใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน                      1.00    2.67    1.33     1.67
                   T3 = ใสํถํานซังข๎าวโพด 100 กก./ไรํ + ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน   1.00   2.67   1.00   1.56
                   T4 = ใสํถํานซังข๎าวโพด 300 กก./ไรํ + ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน   1.00   2.33   1.00   1.44
                   T5 = ใสํถํานซังข๎าวโพด 500 กก./ไรํ + ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน   1.00   2.00   1.00   1.33
                   T6 = ใสํถํานแกลบ 100 กก./ไรํ + ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน   1.00   1.33   1.00   1.11
                   T7 = ใสํถํานแกลบ 300 กก./ไรํ + ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน   1.00   1.33   1.00   1.11
                   T8 = ใสํถํานแกลบ 500 กก./ไรํ + ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน   1.00   2.00   1.33   1.44
                   T9 = ใสํมูลวัว 300 กก./ไรํ + ปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน   1.00   2.00   1.67     1.56
                                           F-test                           -       ns      ns       ns
                                          C.V. (%)                          -     33.33    30.22    31.38

                                    จากผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนรวม 3 ปี ไมํพบความแตกตํางของปริมาณ
                   ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินระหวํางต ารับการทดลอง แตํพบปฏิสัมพันธ์ระหวํางปีกับต ารับการทดลอง
                   จึงท าให๎ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินมีความแตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญในทางสถิติ โดยปีที่ 2

                   มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินสูงกวํา ปีที่ 1 และปีที่ 3 ดังนี้ การใสํปุ๋ยตามวิธีของเกษตรกร ปี
                   ที่ 1 และ ปีที่ 3 มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินไมํแตกตํางกันทางสถิติ แตํมีความแตกตํางกัน
                   อยํางมีนัยส าคัญทางสถิติกับปีที่ 2 การใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน มีความแตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญ
                   ทางสถิติทั้ง 3 ปี ส าหรับการใสํถํานซังข๎าวโพด อัตรา 100  300 และ 500 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับใสํปุ๋ยเคมี

                   ตามคําวิเคราะห์ดิน ในปีที่ 1 และ ปีที่ 3 มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินไมํแตกตํางกันทางสถิติ
                   แตํมีความแตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญทางสถิติกับปีที่ 2 สํวนการใสํถํานแกลบ อัตรา 100  300 และ 500
                   กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับใสํปุ๋ยเคมีตามคําวิเคราะห์ดิน มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินไมํแตกตําง
                   กันทางสถิติทั้ง 3 ปี เชํนเดียวกับการใสํปุ๋ยคอก (มูลวัว) อัตรา 300 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับใสํปุ๋ยเคมีตามคํา

                   วิเคราะห์ดิน (ตารางที่ 6) แตํจะเห็นได๎วําปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดินในปีที่ 2 มีคําสูงกวําปีที่
                   1 และ 3 ทั้งนี้ซึ่งอาจเกิดจากผลตกค๎างจากการท านาปรังในฤดูนาปรังปี 57/58 และดูดใช๎ฟอสฟอรัสของ
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39