Page 17 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         4

                   ชนิดตองการชวงแสงสั้น (Short day) ถึงจะออกดอก บางชนิดตองการชวงแสงยาว (Long day) แตพืช

                   บางชนิดแสงไมมีอิทธิพลตอการออกดอก คาความยาวของชวงแสงจะแตกตางกันออกไปตามจุดที่ตั้งบน
                   เสนรุงในแตละชวงเดือน

                          ระบบอุณหภูมิ (Temperature regime) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน ไดแก คาอุณหภูมิเฉลี่ย

                   ในฤดูปลูก (Mean temperature in growing period) เพราะอุณหภูมิมีอิทธิพลตอการงอกของเมล็ด
                   การออกดอกของพืชบางชนิด และมีสวนสัมพันธกับขบวนการสังเคราะหแสงซึ่งจะสงผลกระทบตอการ

                   เจริญเติบโตของพืช

                          ความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช (Moisture availability) คุณลักษณะที่ดินเปนตัวแทน ไดแก
                   ระยะเวลาการทวมขังของน้ําในฤดูฝน ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยในรอบปหรือความตองการน้ําในชวงการ

                   เจริญเติบโตของพืช นอกจากนี้ควรพิจารณาถึงการกระจายของน้ําฝนในแตละพื้นที่และลักษณะของเนื้อ

                   ดินซึ่งเปนผลตอความจุในการอุมน้ําที่เปนประโยชนตอพืช
                          ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช (Oxygen availability) คุณลักษณะที่ดินที่เปน

                   ตัวแทน ไดแก สภาพการระบายน้ําของดิน ทั้งนี้เพราะพืชโดยทั่วไปรากพืชตองการออกซิเจนในการหายใจ
                   ดังนั้นจึงพิจารณาถึงปจจัยของดินที่มีสภาพการระบายน้ําดีจะมีการถายเทอากาศระหวางเหนือผิวดินกับ

                   ภายในดินไดดี สวนในดินที่มีสภาพการระบายน้ําที่เลว การถายเทอากาศเปนไปไดนอย ทําไหปริมาณกาซ

                   ออกซิเจนในดินก็ถูกรากพืชดูดไปมีปริมาณลดลงในขณะที่กาซคารบอนไดออกไซดในดินที่ไดจากขบวนการ
                   หายใจเพิ่มขึ้น ซึ่งจะมีผลกระทบตอการเจริญเติบโตของรากพืชสําหรับพืชไรและไมผลไมสามารถ

                   เจริญเติบโตไดในสภาพที่มีการแชขังของน้ําเปนเวลานานตั้งแต 5-14 วันขึ้นไป ทั้งนี้ขึ้นอยูกับชนิดของพืช
                   ในสภาพน้ําแชขังปริมาณออกซิเจนในดินมีนอยมากหรือไมมีรากพืชจะขาดออกซิเจนอยางรุนแรงและถา

                   เปนเวลานานพืชที่ถูกปลูกจะตายไดภายใตสภาพน้ําขัง

                          ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (Nutrient availability) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน ไดแก
                   ปริมาณธาตุอาหารหลักของพืชในดิน ประกอบกับการพิจารณาปฏิกิริยาดิน ซึ่งจะมีผลตอลักษณะทางเคมี

                   ของธาตุอาหารพืชในดินที่จะอยูในรูปที่พืชสามารถนําธาตุนั้นไปใชไดหรือไมนอกจากนั้นปฏิกิริยาดินจะมี

                   ผลตอกิจกรรมของจุลินทรียดิน ซึ่งมีสวนสําคัญในขบวนการยอยสลายอินทรียวัตถุดวย
                          ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (Nutrient retention capacity) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน

                   ไดแก ความจุแลกเปลี่ยนประจุบวก (Cation exchange capacity) และความอิ่มตัวดวยดาง (Base
                   saturation) โดยที่ปจจัยทั้งสองอยางนี้มีผลทางออมตอการเจริญเติบโตของพืชในเรื่องปริมาณธาตุอาหาร

                   ที่ดินสามารถดูดยึด และการปลดปลอยธาตุอาหารที่เปนประโยชนตอพืช

                          สภาวะการหยั่งลึกของราก (Rooting conditions) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน ไดแก ความ
                   ลึกของดิน ความลึกของระดับน้ําใตดิน และชั้นการหยั่งลึกของราก (Root penetration classes) ความ

                   ลึกของดินจะมีสวนสัมพันธกับความลึกของระบบรากพืชในการหยั่งเพื่อหาอาหารและยึดลําตัน ดินที่มี
                   ความลึกมาก โอกาสที่รากจะเจริญเติบโตก็เปนไปไดงาย นอกจากนี้ระดับน้ําใตดินจะเปนตัวควบคุมการ

                   เจริญเติบโตของรากพืชดวย ถาระบบน้ําใตดินตื้นโอกาสที่รากพืชจะเจริญเติบโตไปสูเบื้องลางก็เปนไปได
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22