Page 16 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         3

                   เหมาะสมสําหรับการปลูกพืช 13 ชนิดนี้ จะเปนขอมูลที่สําคัญเพื่อประกอบการตัดสินใจในการทําการผลิต

                   หรือสงเสริมการผลิตทางการเกษตรที่เหมาะสม มีปริมาณการผลิตที่สอดคลองกับความตองการของตลาด
                   สามารถรักษาเสถียรภาพของระดับราคาผลผลิตทางการเกษตรและยกระดับรายไดของเกษตรกรใหสูงขึ้น

                   โดยที่ภาคเกษตรกรจะมีสวนรวมในการพิจารณา และตัดสินใจรวมกับเจาที่ของกระทรวงเกษตรและ

                   สหกรณในพื้นที่ นอกจากนี้กระทรวงเกษตรและสหกรณจะมีการพิจารณามาตรการจูงใจใหเกษตรหันมา
                   ปรับเปลี่ยนการเพาะปลูกชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกับพื้นที่ตอไป (กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2556)

                          การจัดทําเขตความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจใชหลักการประเมินความเหมาะสมของ

                   ที่ดิน (Qualitative land evaluation) ตามหลักการของ FAO Framework (FAO, 1983) โดยการ
                   ประเมินความเหมาะสมที่ดิน เปนการพิจารณาศักยภาพของหนวยทรัพยากรที่ดินตอการใชประโยชนที่ดิน

                   ประเภทตาง ๆ ในการจัดการที่แตกตางกัน วิธีการประเมินใชวิธีการจับคู (Matching) ระหวางคุณภาพ

                   ที่ดิน (Land quality) และปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโตของพืช (Crop requirement) ตามสภาพที่มี
                   การเพาะปลูกพืชแตละชนิดในปจจุบันรวมกับปจจัยที่เกี่ยวของอื่น ๆ เชน เขตปาไมตามกฎหมาย เขตพื้นที่

                   โครงการชลประทาน เปนตน ทั้งนี้สามารถจําแนกอันดับความเหมาะสมของพืชออกเปน 4 ชั้น (class) คือ
                   S1 หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (highly suitable) S2 หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง

                   (moderately suitable) S3 หมายถึง ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (marginally suitable) และ N

                   หมายถึง ชั้นที่ไมมีความเหมาะสม (not suitable)
                          คุณภาพที่ดิน คือ คุณสมบัติของที่ดินที่มีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืช คุณภาพ

                   ที่ดินที่นํามาประเมินสําหรับการปลูกพืชในระบบ FAO Framework ไดกําหนดไวทั้งหมด 25 ชนิด
                   ประกอบดวย ความเขมของแสงอาทิตย อุณหภูมิ ความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอพืช ความเปนประโยชน

                   ของออกซิเจนตอรากพืช ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร สภาวะการ

                   หยั่งลึกของราก สภาวะที่มีผลตอการงอกของเมล็ด ความชื้นในอากาศที่มีผลตอการเจริญเติบโต สภาวะสุก
                   แก ความเสียหายจากน้ําทวม ความเสียหายจากภูมิอากาศ การมีเกลือมากเกินไป สารพิษ โรคและแมลง

                   ศัตรูพืช สภาวะการเขตกรรม ศักยภาพการใชเครื่องจักร สภาวะสําหรับการเตรียมที่ดิน สภาวะการเก็บกัก

                   และแปรรูป สภาวะที่มีผลตอเวลาใหผลผลิต การเขาถึงพื้นที่ ขนาดของหนวยศักยภาพการจัดการ ที่ตั้ง
                   ความเสียหายจากการกัดกรอน และความเสียหายจากการแตกทําลาย

                          คุณภาพของที่ดินที่มีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืช ประกอบดวยคุณลักษณะของ
                   ที่ดิน (Land Characteristic) ตัวเดียวหรือหลายตัว การคัดเลือกคุณภาพที่ดินตองประกอบดวยเงื่อนไข

                   ครบ 3 ประการ ไดแก สมบัติดินตองมีผลตอพืชนั้น ๆ มีคาวิกฤตที่พบในพื้นที่ที่ปลูกพืชนั้น ๆ และเปน

                   ขอมูลที่สามารถรวบรวมได ซึ่งจากเงื่อนไขการคัดเลือกคุณภาพที่ดินดังกลาวสามารถคัดเลือกคุณภาพที่ดิน
                   ที่ควรนํามาใชประเมินความสมเหมาะสมสําหรับประเทศไทยได 13 ชนิด (บัณทิต และคํารณ, 2542) ดังนี้

                          ความเขมของแสงอาทิตย (Radiation regime) คุณลักษณะที่ดินที่เปนตัวแทน (Diagnostic
                   characteristics) ไดแก คาความยาวของชวงแสง (Day length) เพราะมีผลโดยตรงตอการออกดอกของ

                   พืช พืชแตละชนิดมีความตองการความยาวของชวงแสงที่มีอิทธิพลตอการออกดอกแตกแตงกันไป พืชบาง
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21