Page 20 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         7

                          เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมันสําปะหลัง แบงตามความเหมาะสมของพื้นที่ออกไดเปน 1) พื้นที่ที่

                   มีความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ประมาณ 311,856 ไร พบมากที่สุดในภาคเหนือ มีเนื้อที่ 241,926 ไร
                   รองลงมาไดแก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก มีเนื้อที่ 34,919 และ 29,952 ไร ตามลําดับ

                   2) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ประมาณ 2,797,802 ไร พบมากที่สุดในภาค

                   ตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ 1,918,208 ไร รองลงมาไดแก ภาคตะวันออกและภาคเหนือ มีเนื้อที่
                   463,404 และ 245,175 ไร ตามลําดับ และ 3) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ประมาณ

                   2,150,374 ไร พบมากที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้งหมด (เจียมใจ และคณะ, 2547)

                          ในการกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมันสําปะหลังรายพันธุนั้น จําเปนตองศึกษาขอมูลหลาย
                   ดานเพื่อนํามาวิเคราะหปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของ สําหรับกําหนดเขตที่เหมาะสมที่สุดในการปลูกพืชให

                   ประสบผลสําเร็จในการเพิ่มผลผลิต และรายไดไหสูงขึ้น ในขณะเดียวกันสามารถลดตนทุนการผลิตและลด

                   การขยายพื้นที่เพาะปลูก สามารถเพิ่มผลผลิตตอไรสูงขึ้น  จึงจําเปนตองมีการวิเคราะหประเมินความ
                   เหมาะสมทั้งทางดานกายภาพ ความตองการดานพืช สภาพเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนนโยบายของรัฐ

                   ดานการเกษตรกรรม ปจจัยที่เกี่ยวของ ลักษณะสภาพพื้นที่และลักษณะดินที่เหมาะสม สภาพภูมิอากาศ
                   ความตองการปจจัยของพืชเปนรายพันธุ ความสัมพันธระหวางดินและพืช โครงสรางพื้นฐานดานการตลาด

                   สภาพเศรษฐกิจสังคมของเกษตรกร เปนตน ซึ่งการใชมันสําปะหลังพันธุดีเหมาะสมเฉพาะพื้นที่ที่ปลูกใน

                   แตละภาคของประเทศไทย ที่ใหผลผลิตและเปอรเซ็นตแปงสูงกวาพันธุที่ทางราชการเคยสงเสริมมากอน
                   จะชวยใหเกษตรกรไดรับผลผลิตตอหนวยพื้นที่เพิ่มขึ้นและยังเปนการลดตนทุนผลิต ซึ่งพอจะกลาวไดดังนี้

                          การวิเคราะหความเหมาะสมทางดานกายภาพ โดยวิเคราะหถึงความเหมาะสมของดินในแตละ
                   พื้นที่ของประเทศไทย ซึ่งโดยทั่วไปแลวมันสําปะหลังแตละพันธุจะมีความตองการพื้นฐานคลายคลึงกัน

                   ไดแก สามารถขึ้นไดดีในที่ดอนลูกคลื่นลอนลาดถึงลอนชัน สภาพการระบายน้ําดีถึงดีมาก มีหนาดินลึก

                   มากกวา 30 เซนติเมตรขึ้นไป มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย แมกระทั่งดินทรายที่มีความอุดมสมบูรณต่ําก็
                   สามารถปลูกไดแตตองใชตนทุนในการผลิตสูง บางบริเวณที่มีเนื้อดินปะปนดวยกรวดรวน ก็สามารถปลูกได

                   แตตองมีหนาดินลึกพอสมควรที่มันสําปะหลังสามารถลงหัวได บริเวณที่เสี่ยงตอน้ําทวมขังหรือน้ําไหลบา

                   ในชวงเพาะปลูกจะเปนขอจํากัดที่ทําใหผลผลิตเสียหายได สําหรับภูมิอากาศบางพื้นที่ของประเทศไทยที่
                   ปริมาณฝนตกชุกเกินไปจะเปนอุปสรรคตอผลผลิตเนาเสียหายได เชน ภาคใตเพราะมันสําปะหลังตองการ

                   แสงแดดจัดและมีการกระจายของปริมาณน้ําฝนสม่ําเสมอ ปริมาณน้ําฝนที่เหมาะสมอยูระหวาง 1,000-
                   1,500 มิลลิเมตรตอป สําหรับภาคเหนือบางจังหวัดซึ่งสภาพพื้นที่เปนที่สูงหรือภูเขาสูง จะไมเหมาะสําหรับ

                   พืชอีกทั้งสภาพพื้นที่ลาดชันเสี่ยงตอการชะลางพังทลายของดินคอนขางสูง

                          ในขณะที่บริเวณภาคกลางซึ่งสวนใหญเปนที่ลุมหรือบางบริเวณมีโอกาสเสี่ยงตอน้ําทวมทุกปก็จะ
                   เปนปญหาที่สําคัญสงผลเสียหายตอผลผลิต บางพื้นที่จะเปนดินเปรี้ยวหรือดินดาง ซึ่งความเปนกรดเปน

                   ดาง (pH) ที่เหมาะสมจะอยูระหวาง 5.5-7.5 บริเวณที่มีดินเหนียวจัดเกินไปหรือมีกอนปูนมารลปะปนจะ
                   ทําใหไดผลผลิตไมเต็มที่ จึงไมเหมาะสมสําหรับมันสําปะหลังสวนบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ

                   ประเทศไทยโดยภาพรวมสภาพพื้นที่และลักษณะดินคอนขางเหมาะสม แตมีขอจํากัดดานปริมาณน้ําฝน
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25