Page 15 - การจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในกลุ่มชุดดินที่ 56 จังหวัดตากโครงการนำร่องการผลิตพืชตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันในประชาคมอาเซียน
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         2

                                                        การตรวจเอกสาร



                          เขตความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ หมายถึง พื้นที่เกษตรกรรมที่มีความเหมาะสม

                   ทางกายภาพปานกลางถึงสูงในการปลูกพืชเศรษฐกิจซึ่งปลูกอยูในปจจุบัน สําหรับพื้นที่อื่นที่มีความ
                   เหมาะสมเล็กนอยและไมเหมาะสม จะพิจารณาปรับเปลี่ยนในการปลูกพืชที่เหมาะสมกวาและอยูนอกเขต

                   ปาไมตามกฎหมาย การกําหนดเขตความเหมาะสมสําหรับปลูกพืชเศรษฐกิจ เปนการประเมินหาศักยภาพ
                   หรือความเหมาะสมของที่ดินสําหรับปลูกพืชเศรษฐกิจ ที่ทํารายไดเขาสูประเทศและสามารถแขงขันกับ

                   ตางประเทศได เปนขอมูลเบื้องตนในการสนับสนุนการดําเนินงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ โดย

                   กําหนดพื้นที่เปาหมายในการผลิตพืชเศรษฐกิจไดอยางถูกตองและเหมาะสม สรางสมดุลระหวางอุปทาน
                   และอุปสงค แกปญหาราคาสินคาเกษตรตกต่ํา เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดตนทุนการผลิตของ

                   เกษตรกรไดอยางยั่งยืน ในการกําหนดเขตความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ มีระบบฐานขอมูล
                   ประกอบดวยทรัพยากรที่ดิน สภาพการใชที่ดินในปจจุบัน ลักษณะทางอุตุนิยมวิทยา ทรัพยากรน้ํา

                   ทรัพยากรปาไม โครงการชลประทาน และขอบเขตการปกครอง ซึ่งจะนํามาวิเคราะหรวมกัน เพื่อกําหนด

                   เขตเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจตอไป (กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน, 2559)
                          กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดจัดทําเขตความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจที่สําคัญขึ้น

                   เพื่อใหมีขอมูลประกอบการตัดสินใจในดานการผลิต การสงเสริมการผลิตทางการเกษตรที่เหมาะสม มี

                   ประมาณการผลิตที่สอดคลองกับความตองการของตลาด สามารถรักษาเสถียรภาพของระดับราคาผลผลิต
                   ทางการเกษตร และยกระดับรายไดของเกษตรกรใหสูงขึ้น โดยเจาะจงเอื้อประโยชนใหแกผูนําไปใช 3

                   ประเภท คือ เกษตรกรสามารถกําหนดปริมาณและคุณภาพผลผลิตไดแมนยํามากขึ้น สามารถวางแผนการ
                   ผลิตและลดความเสี่ยงจากราคาผันผวนตนฤดู ตลอดจนลดตนทุนการขนสงวัตถุดิบสูโรงงานแปรรูป และ

                   ขนสงสินคาเกษตรไปสูตลาดได สวนผูประกอบการจะไดสินคาที่มีคุณภาพตรงกับความตองการ และ

                   สามารถวางแผนการบริหารจัดการการแปรรูปผลผลิตเพื่อสรางมูลคาเพิ่มไดชัดเจน รวมถึงลดตนทุนในการ
                   ขนสง และภาครัฐจะมีระบบฐานขอมูลกลางของประเทศ เพื่อใชในการวางแผนบริหารการพัฒนาภาค

                   เกษตรไดอยางมีประสิทธิภาพ (กระทรวงเกษตรและสหกรณ, 2557)
                          ในป พ.ศ. 2556 กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดจัดทําเขตความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืช

                   เศรษฐกิจที่สําคัญ โดยวิเคราะหความเหมาะสมของที่ดินกับปจจัยความตองการของพืชแตละชนิด ตาม

                   สภาพที่มีการเพาะปลูกพืชรวมกับปจจัยที่เกี่ยวของอื่น ๆ อาทิ เขตปาไมตามกฎหมาย เขตพื้นที่
                   ชลประทาน โดยดําเนินการในเบื้องตน 6 ชนิดพืชเศรษฐกิจ ประกอบดวย ขาว ขาวโพดเลี้ยงสัตว ออย

                   โรงงาน มันสําปะหลัง ยางพารา และปาลมน้ํามัน ซึ่งไดดําเนินการจัดทําประกาศกระทรวงเกษตรและ

                   สหกรณ เรื่อง “การกําหนดเขตเหมาะสมสําหรับปลูกขาวมันสําปะหลัง ยางพารา ปาลมน้ํามัน ออย
                   โรงงาน และขาวโพดเลี้ยงสัตว” จําแนกตามรายภาค จังหวัด อําเภอ และตําบล และหลังจากนั้นในป

                   เดียวกันก็ไดดําเนินการจัดทําเขตความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจเพิ่มเติมอีก 7 ชนิดพืช

                   ประกอบดวย สับปะรดโรงงาน เงาะ ทุเรียน มังคุด ลองกอง ลําไย และกาแฟ รวมเปน 13 ชนิดพืช ซึ่งเขต
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20