Page 17 - ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหล่อยูง-คลองในหยง ของเกษตรกรตำบลหล่อยูง อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       10







                                                ระยะเวลาและสถานที่ด าเนินการ

                       ระยะเวลาด าเนินการ  เริ่มต้นเดือนตุลาคม2560สิ้นสุดเดือนกุมภาพันธ์ 2561

                       สถานที่ด าเนินการ    พื้นที่ด้าเนินการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอนเขตพัฒนา
                       ที่ดินลุ่มน้้าคลองหล่อยูง-คลองในหยงต้าบลหล่อยูง อ้าเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงาครอบคลุมพื้นที่

                       ประมาณ 6,825 ไร่พิกัดUTM 042745E-043187E และ 090641N-091279N ซึ่งมีเกษตรกรที่อยู่ใน

                       พื้นที่ด้าเนินการตามบัญชีรายชื่อ จ้านวน170 ราย


                                                    อุปกรณ์และวิธีด าเนินการ


                       1. อุปกรณ์

                              อุปกรณ์ที่ใช้ส้าหรับงานวิจัยนี้ คือ แบบสัมภาษณ์ ซึ่งแบบสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้น ประกอบด้วย
                       ค้าถามปลายปิดและค้าถามปลายเปิด โดยแบ่งแบบสัมภาษณ์ออกเป็น 5 ตอน ดังนี้

                              ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป ข้อมูลทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกรในพื้นที่จัดท้าระบบ
                       อนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน

                              ตอนที่ 2 ข้อมูลด้านการติดต่อสื่อสารของเกษตรกรในพื้นที่จัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบน

                       พื้นที่ลุ่ม-ดอน
                              ตอนที่ 3 ข้อมูลด้านจิตวิทยาของเกษตรกรในพื้นที่จัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-

                       ดอน
                              ตอนที่ 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน

                              ตอนที่ 5 ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-

                       ดอน
                              ผู้วิจัยได้ท้าการทดสอบความเชื่อถือได้ของแบบสัมภาษณ์ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ มีการ

                       ทดสอบความเที่ยงตรง และความเชื่อมั่น ดังนี้
                              ความเที่ยงตรง ผู้วิจัยน้าแบบสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้นมาไปให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาและตรวจสอบ

                       ความเที่ยงตรงตามเนื้อหาและความเหมาะสมของภาษาที่ใช้ เพื่อน้าไปปรับปรุงแก้ไขก่อนน้าไป

                       สัมภาษณ์ในการเก็บข้อมูลจริง
                              ความเชื่อมั่น ผู้วิจัยได้น้าแบบสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้นมาและปรับปรุงแก้ไขแล้ว ไปสัมภาษณ์กับ

                       เกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่จัดท้าระบบอนุรักษ์น้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนาที่ดิน ที่ไม่ถูกคัดเลือกเป็น
                       กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย จ้านวน12 ชุด ไปท้าการทดสอบ (Pre-test)โดยใช้โปรแกรมวิเคราะห์ทาง

                       สถิติ ตามสูตรของ Cronbach’s  alpha  formula  ซึ่งได้ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นของทัศนคติต่อ

                       การจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนาที่ดิน และ ต่อเจ้าหน้าที่พัฒนาที่ดิน
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22