Page 20 - ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหล่อยูง-คลองในหยง ของเกษตรกรตำบลหล่อยูง อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       13







                              สมมติฐานที่ 3 ลักษณะทางจิตวิทยา ได้แก่ ทัศนคติต่อการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้า บน
                       พื้นที่ลุ่ม-ดอน และทัศนคติต่อเจ้าหน้าที่พัฒนาที่ดิน มีผลต่อการยอมรับการยอมรับการจัดท้าระบบ

                       อนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน ของเกษตรกร
                              2.3 วิธีการศึกษา

                              ประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่จัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน
                       เขตพัฒนาที่ดิน ลุ่มน ้ำคลลงหลล่งูงหอง้ำภองะกั่วทุุ่หอจ่หลท่ดพ่หหำอตามบัญชีรายชื่อเกษตรจ้านวน

                       170  ราย(สถานีพัฒนาที่ดินพังงา, 2559) และหาขนาดตัวอย่างโดยการเปรียบเทียบจากตารางของ

                       เครจซีและมอร์แกน (Krejcie and Morgan)ได้กลุ่มตัวอย่าง 118 ราย (ประสพชัย, 2557)
                              ท้าการสุ่มตัวอย่างจากประชากรมาเป็นกลุ่มตัวอย่าง  โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบธรรมดา

                       (simple random  sampling) โดยการจับฉลาก และได้ผลการสุ่มจ้านวนตัวอย่างที่สัมภาษณ์จ้านวน

                       118รายคิดเป็น ร้อยละ 69.4 ของประชากรทั้งหมดผู้วิจัยได้ท้าการสัมภาษณ์เกษตรกร118  รายด้วย
                       ตนเองเริ่มสัมภาษณ์ระหว่างเดือนธันวาคม 2560 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2561

                              2.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
                              ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์ทุกฉบับน้าข้อมูลมาลงรหัส  เพื่อน้าไป

                       วิเคราะห์ด้วยโปรแกรมส้าเร็จรูป ซึ่งมีการใช้สถิติในการวิเคราะห์  ดังนี้
                                     2.4.1 การวิเคราะห์โดยใช้สถิติพรรณนา เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ

                       และสังคมการติดต่อสื่อสาร และจิตวิทยา สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าสูงสุด (Maximum) ค่า

                       ต่้าสุด (Minimum) ค่าร้อยละ (Percentage) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
                                     2.4.2  การวิเคราะห์โดยใช้สถิติอนุมาน (Inferential  statistics) เพื่อทดสอบ

                       สมมุติฐาน โดยใช้ค่าสถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation ; r)

                       เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรอิสระด้วยกันโดยตัวแปรอิสระต้องไม่มี
                       ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันเองในระดับสูงค่าสัมประสิทธิ์จะอยู่ระหว่าง -1  ถึง 1และใช้การวิเคราะห์

                       ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis)  ส้าหรับวิเคราะห์อิทธิพล
                       ของตัวแปรอิสระที่มีต่อการยอมรับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนา

                       ที่ดิน
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25