Page 21 - ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหล่อยูง-คลองในหยง ของเกษตรกรตำบลหล่อยูง อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       14







                                                    ผลการศึกษาและวิจารณ์

                              การศึกษานี้ได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและ

                       น้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้าคลองหล่อยูง-คลองในหยงต้าบลหล่อยูง อ้าเภอตะกั่วทุ่ง
                       จังหวัดพังงา จ้านวน 118 คน ซึ่งมีรายละเอียดข้อมูลพื้นฐานทางสังคม ปัจจัยทางเศรษฐกิจปัจจัยการ

                       สื่อสาร และปัจจัยด้านจิตวิทยา ดังนี้

                       1.ข้อมูลพื้นฐานทางสังคมของเกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่จัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าบนพื้นที่ลุ่ม-

                       ดอนเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าคลองหล่อยูง-คลองในหยง
                              1)เพศ พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ79.66 เพศหญิงร้อยละ 20.34

                       เกษตรกรเพศชายส่วนใหญ่เป็นหัวหน้าครอบครัวและเป็นแรงงานหลักในการท้าการเกษตร ส่วนเพศ
                       หญิงจะเป็นแรงงานเสริมในการท้าการเกษตร

                              2) อายุพบว่า เกษตรมีอายุเฉลี่ย 51.60  ปี โดยมีอายุ 48-58  ปี มากที่สุด ร้อยละ41.53
                       รองลงมา คือ อายุ 37-47 ปี ร้อยละ 24.58 และอายุต่้ากว่า 36 ปี ร้อยละ 10.17

                              3) ศาสนา พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 62.71  และบางส่วนนับถือ
                       ศาสนาอิสลาม

                              4) ระดับการศึกษา พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ 4  และ

                       อนุปริญญาหรือเทียบเท่า ร้อยละ 22.03 รองลงมา คือ ปริญญาตรี ร้อยละ 16.10 และไม่ได้ศึกษาเลย
                       น้อยที่สุดร้อยละ 2.54 เกษตรกรจบการศึกษาระดับประถมศึกษาเป็นส่วนใหญ่เนื่องจากสังคมชนบทมี

                       ค่านิยมส้าหรับการศึกษาแค่เพียงภาคบังคับ และส่วนใหญ่ท้างานในสวนของตนเอง

                              5) ความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่มีความสามารถในการ
                       อ่านออกเขียนได้ ร้อยละ 93.22 รองลงมา คือ อ่านออก เขียนไม่ได้ ร้อยละ 6.78
                              6) จ้านวนสมาชิกในครอบครัว พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่มีสมาชิกในครบครัวจ้านวน 1-3 คน

                       มากที่สุด ร้อยละ 90.68 รองลงมา คือ จ้านวน 4-6 คน ร้อยละ 7.63 และจ้านวน 7-9 คน น้อยที่สุด
                       ร้อยละ 1.69 (ตารางที่ 1)
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26