Page 15 - ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหล่อยูง-คลองในหยง ของเกษตรกรตำบลหล่อยูง อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         8







                       จ้านวนแรงงานมากขึ้นจะท้าให้เกษตรกรยอมรับด้านการปฏิบัติในการปลูกและดูแลรักษามัน
                       ส้าปะหลังน้อยลงเนื่องจากจ้านวนแรงงานในครัวเรือนที่ช่วยในการปลูกมีจ้านวนมากขึ้นแต่ในการปลูก

                       มันส้าปะหลังนั้นไม่จ้าเป็นต้องดูแลรักษามากนักเพราะมันส้าปะหลังเป็นพืชที่ดูแลรักษาง่ายไม่ต้องฉีด
                       สารเคมีในการป้องกันโรคและแมลง

                              พีระพันธ์ (2535)ได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการใช้ปุ๋ยเคมีในสวนยางพาราของเกษตรกรราย
                       ย่อยในจังหวัดสตูล พบว่า เกษตรกรรายย่อยที่มีการยอมรับการใช้ปุ๋ยเคมีในสวนยางพารา จะมีการใช้

                       สินเชื่อด้านการเกษตรสูงกว่าเกษตรกรรายย่อยที่ไม่ยอมรับการใช้ปุ๋ยเคมีนอกจากนี้ชิตพล (2551)ได้

                       ศึกษาการยอมรับการใช้ปุ๋ยชีวภาพในสวนยางพารา : กรณีศึกษา เกษตรกรในต้าบลท่าข้าม อ้าเภอ
                       หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พบว่า เกษตรกรที่มีการกู้ยืมหรือไม่มีการกู้ยืมก็มีการยอมรับการใช้ปุ๋ย

                       ชีวภาพในสวนยางพาราในแต่ละด้านเหมือนกัน ซึ่งสอดคล้องกับวนิดา (2552)ได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อ

                       การยอมรับการผลิตและใช้ปุ๋ยอินทรีย์ของสมาชิกกลุ่มเกษตรกรในอ้าเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
                       พบว่าเกษตรกรที่มีการกู้ยืมและไม่กู้ยืมจากแหล่งสินเชื่อทางการเกษตร จะมีการยอมรับการผลิตและ

                       ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ไม่แตกต่างกัน
                              4.2ปัจจัยการติดต่อสื่อสาร

                              จรัล (2544)ได้ศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตมันส้าปะหลังของเกษตรกรในจังหวัด
                       ขอนแก่น พบว่า การติดต่อกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรมีความสัมพันธ์กับการยอมรับเทคโนโลยี

                       การผลิตมันส้าปะหลัง 2  เรื่อง ได้แก่ ทดลองปลูกพันธุ์ดีเพื่อเลือกพันธุ์ที่เหมาะสมและการปักท่อน

                       พันธ์ฤดูฝนสามารถปักแบบเอียงหรือตรงก็ได้ ส่วนปลายฤดูฝนเกษตรกรควรปักท่อนพันธุ์แบบตรงซึ่ง
                       สอดคล้องกับ สันติ (2545)ได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับโครงการปลูกแทนยางพาราด้วยปาล์ม

                       น้้ามันของเกษตรกร อ้าเภอสะเดา จังหวัดสงขลา พบว่า การติดต่อสื่อสารเกี่ยวกับการปลูกปาล์ม

                       น้้ามันของเกษตรกรมีผลต่อการยอมรับโครงการปลูกแทนยางพาราด้วยปาล์มน้้ามันที่มากขึ้น
                       นอกจากนี้ปรีติญา(2552)ได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศองค์ความรู้

                       เรื่องข้าวของเกษตรกร: กรณีศึกษากลุ่มโรงเรียนชาวนาจังหวัดนครราชสีมา พบว่าการพบเจ้าหน้าที่มี
                       ผลต่อการยอมรับในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศองค์ความรู้เรื่องข้าวของเกษตรกรในขั้นทดลองท้า

                              พจนันท์ และคณะ (2550)ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการยอมรับรูปแบบกิจกรรมของ
                       เกษตรกรในนิคมเศรษฐกิจพอเพียง อ้าเภอวังน้้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา พบว่า เกษตรกรที่ได้รับ

                       ข่าวสารในระดับต่้าและระดับปานกลางจะยอมรับกิจกรรมในระดับปานกลาง ส่วนเกษตรกรที่ได้รับ

                       ข่าวสารในระดับสูงจะยอมรับกิจกรรมในระดับสูง โดยแหล่งข้อมูลที่ได้รับมากที่สุด คือ จากเจ้าหน้าที่
                       ของรัฐ รองลงมาคือ จากหอกระจายข่าวหมู่บ้าน สื่อวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์นอกจากนี้ พัฒนพงศ์

                       (2540) ได้ศึกษาความต้องการการฝึกอบรมวิชาชีพเกษตรกรรมของเกษตรกรในอ้าเภอภาชี จังหวัด
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20