Page 14 - ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหล่อยูง-คลองในหยง ของเกษตรกรตำบลหล่อยูง อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         7







                       แก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน ดินเสื่อมโทรม ผลผลิตตกต่้าและขาดแคลนน้้าทางการเกษตร
                       ตลอดจนปัญหาการล้าเลียงผลผลิตออกนอกพื้นที่ของเกษตรกร

                              การก่อสร้างระบบอนุรักษ์ดินและน้้า เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาในพื้นที่ด้าเนินการ
                       ประกอบด้วย คันดินแบบ 5จ้านวน 9.655 กิโลเมตรทางล้าเลียงในไร่นา จ้านวน 5.361 กิโลเมตร ท่อ

                       ระบายน้้า จ้านวน 23 จุด ปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 3จ้านวน 6.459 กิโลเมตร และอาคารชะลอ
                       ความเร็วน้้า จ้านวน 8จุด(สถานีพัฒนาที่ดินพังงา, 2559)


                       4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
                              4.1 ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจและสังคม

                              วัชรพงษ์(2546)ได้ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับการเลี้ยงโคเนื้อของเกษตรกร

                       ยากจนในจังหวัดปัตตานี พบว่า เกษตรกรที่มีรายได้สูงสามารถยอมรับการเลี้ยงโคเนื้อได้ดีกว่า
                       เกษตรกรที่มีรายได้ต่้า นอกจากนี้ นฤชิต(2548)ได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับโครงการปลูก

                       ปาล์มน้้ามันทดแทนพลังงาน ปี 2549 ของเกษตรกร จังหวัดสงขลา พบว่า รายได้ของครอบครัวไม่มี

                       ความสัมพันธ์ต่อการยอมรับโครงการปลูกปาล์มน้้ามันของเกษตรกร
                              ภัทราวรรณ(2551)ได้ศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีเพื่อการผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105  ของ

                       เกษตรกรในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า เกษตรกรที่มีขนาดพื้นที่ปลูกข้าวขาวดอกมะลิ
                       105 แตกต่างกัน  มีการยอมรับเทคโนโลยีแตกต่างกัน 3 ประเด็น ได้แก่การใช้ปุ๋ยพืชสดร่วมกับปุ๋ยเคมี

                       การใส่ปุ๋ยสูตร 16-16-8 ใส่รองพื้นในอัตรา 20-25กิโลกรัมต่อไร่ และการใส่ปุ๋ยคอกก่อนการหว่าน
                       เมล็ดพันธ์หรือการปักด้า ซึ่งสอดคล้องกับ สาคร (2545) ได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้มัน

                       ส้าปะหลังเป็นอาหารโคของเกษตรกรที่ผ่านการฝึกอบรมจากศูนย์ค้นคว้าและพัฒนาวิชาการอาหาร

                       สัตว์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พบว่า ขนาดฟาร์มมีความสัมพันธ์กับการยอมรับเทคโนโลยีการใช้มัน
                       ส้าปะหลังเป็นอาหารโคในด้านจ้านวนอาหารสูตรมันส้าปะหลังที่ให้โคกินโดยจ้านวนปีที่เลี้ยงโคด้วย

                       อาหารสูตรมันส้าปะหลังและขนาดฟาร์มมีความสัมพันธ์กับการยอมรับเทคโนโลยีการใช้มันส้าปะหลัง

                       เป็นอาหารโคในด้านความต่อเนื่องในการใช้มันส้าปะหลังเลี้ยงโคในทิศทางตรงกันข้ามนอกจากนี้
                       ณรงค์(2547)ได้ศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีเกษตรอินทรีย์เพื่อการผลิตข้าวของเกษตรกรในจังหวัด

                       สุรินทร์ พบว่า เกษตรกรที่มีขนาดพื้นที่ท้าการเกษตรที่แตกต่างกันมีการยอมรับเทคโนโลยีเกษตร
                       อินทรีย์เพื่อการผลิตข้าวที่ไม่แตกต่างกัน

                              ก้องกษิต(2543)ได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการจัดท้าแปลงขยายพันธุ์ข้าวของ
                       เกษตรกร อ้าเภอระโนด จังหวัดสงขลา พบว่า จ้านวนแรงงานมีความสัมพันธ์ทางลบกับการยอมรับ

                       การจัดท้าแปลงขยายพันธุ์ข้าว และจุฬาลัย (2551)ได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการเลี้ยงไหมอี

                       รี่เป็นอาชีพเสริมของเกษตรกรผู้ปลูกมันส้าปะหลังพบว่า ปัจจัยด้านจ้านวนแรงงานมีความสัมพันธ์ทาง
                       ลบกับการยอมรับด้านการปฏิบัติ ในการปลูกและดูแลรักษามันส้าปะหลัง แสดงว่าเมื่อเกษตรกรมี
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19